Siripat Thai-Med Online School
  • Home
  • หลักสูตร
    • แพทย์แผนไทย >
      • เภสัชกรรมไทย >
        • เภสัชวัตถุ >
          • สมุนไพร ป่าชายเลน
        • สรรพคุณเภสัช
        • คณาเภสัช
        • หลักเภสัชกรรมไทย >
          • ตัวยาอันตราย
          • การสะตุ ประสะ ฆ่าฤทธิ์ตัวยา
          • ยาสามัญประจำบ้าน
        • แนวข้อสอบ เภสัชกรรมไทย
      • เวชกรรมไทย >
        • พระคัมภีร์ ฉันทศาสตร์
        • พระคัมภีร์ ปฐมจินดา
        • ตำรายา
        • แนวข้อสอบเวชกรรมไทย
      • ผดุงครรภ์ไทย >
        • แม๋ซื้อ
        • ห่วงเต้า
      • การนวดไทย >
        • กายวิภาคศาสตร์
        • การนวดราชสำนัก
        • ท่าบริหารฤาษีดัดตน
        • ท่าบริหารโยคะ
        • การหายใจบำบัดโรค
        • การนวดย่ำขาง
        • การนวดรักษา
        • แนวข้อสอบการนวดไทย
      • กฎหมายที่เกี่ยวข้อง >
        • เฉลยข้อสอบ พ.ร.บ วิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.$
        • พ.ร.บ การประกอบโรคศิลปะ >
          • แนวข้อสอบ พ.ร.บ.การประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒
        • พ.ร.บ สถานพยาบาล >
          • แนวข้อสอบ พ.ร.บ สถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑
        • พ.ร.บ ยา >
          • ประกาศยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
          • แนวข้อสอบ พ.ร.บ ยา พ.ศ. ๒๕๑๐
    • การแพทย์ทางเลือก >
      • การนวดจัดกระดูก
      • นวดไทยเพื่อสุขภาพ
      • กดจุดสะท้อนฝ่าเท้า
      • กวาซา
    • ประกาศผลสอบ แพทย์แผนไทย ประจำปี ๒๕๕๔
    • งานวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย
  • ประวัติปู่ชีวกโกมารภัจจ์/โรงเรียน
    • ประวัติ อ.ประสิทธิ์/พิธีไหว้ครู
    • ข้อมูลหลักสูตร >
      • ระเบียบการสมัครเรียน/สอบ
    • ทำเนียบครูแพทย์แผนไทย
    • ทำเนียบนักเรียน
    • เพลงแพทย์แผนไทย
  • สิริภัจจ์ สหคลินิก
    • กายภาพบำบัด
    • ยาแผนไทย
    • สมุนไพรบำบัด >
      • โรคสะเก็ดเงิน
    • นวดบำบัด
    • นวดจัดกระดูก
  • แผนที่โรงเรียน/คลินิก
  • ปรึกษาแพทย์ ฟรี
  • มารู้จัก มะเร็ง(โรคสาร) กันเถอะ
    • ตำหรับยา รักษามะเร็ง
    • ยารักษามะเร็ง/โจ๊กดอกไม้
  • ตำรายารักษาโรคต่างๆ
    • ยาแก้ไฟใหม้ -น้ำร้อนลวก
    • ยาแก้ งูสวัด เริม ไฟลามทุ่ง
    • ยารักษา โรคความดันโลหิตสูง
    • ยารักษาโรคไซนัสอักเสบและริดสีดวงจมูก
    • ยาแก้ไอ
    • ยาแก้ปวดหู
    • ยารักษาไข้หวัด
    • ยารักษาโรคตา
  • เครื่องมือทดสอบคุณภาพยาสมุนไพร
โดย สิริภัจจ์ สหคลินิก การแพทย์แผนไทย อ.ประสิทธิ์ คงทรัพย์

                  มารู้จักกับโรคสะเก็ดเงิน 
        ตามแนวแพทย์แผนปัจจุบัน
                 กับแผนโบราณ

Picture
 

โรคสะเก็ดเงิน หรือ โรคเรื้อนกวางPsoriasis

โรคสะเก็ดเงินหรือเรื้อนกวางเป็นโรคผิวหนังเรื้อรังที่เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันมีความบกพร่อง 


รูปแสดงผิวหนังที่หนาตัว Plaque

 ทำให้เซลล์ผิวหนังกำพร้าแบ่งตัวเร็ว ทำให้ผิวหนาตัวขึ้นและเป็นขุย  และเชื่อว่าพันธุกรรมก็มีส่วนทำให้เกิดโรคโดยจะต้องมีปัจจัยกระตุ้นซึ่งได้แก่ ความเครียด ผิวหนังที่มีแผล  รวมทั้งการติดเชื้อและจากยาบางชนิด มักเป็นมากในระยะวัยรุ่น และพบมากในวัยกลางคนไม่ติดต่อโดยการสัมผัส โรคมีหลายรูปแบบความรุนแรงก็มีหลายระดับ รูปแบบที่พบบ่อยคือ Plaque psoriasis ผู้ป่วยร้อยละ 80ที่เป็นเรื้อนกวางจะเป็นชนิดนี้ ตำแหน่งที่พบได้คือบริเวณผิวหนังทุกแห่ง เช่น
เข่าศอกหนังศีรษะลำตัวเล็บ

  1. อาการ 

    อาการมักจะค่อยๆเกิด และเป็นๆหายๆ ปัจจัยที่ทำให้โรคกำเริบได้แก่ การได้รับบาดเจ็บของผิวหนัง เช่นการเกา ผิวไหม้จากแดด การติดเชื้อไวรัส แพ้ยา 



  • ผิวหนัง เริ่มเป็นผื่นเล็กๆสีแดง มีขอบชัดเจน รูปร่างอาจจะทรงกลมหรือรูปไข่ และมีขุยหรือสะเก็ดสีขาวเงิน ซึ่งค่อนข้างติดแน่น เมื่อแกะขุยจะมีเลือดออกเล็กๆ ผื่นอาจจะขยายวงกว้างออกไปรูปร่างของผื่นมีได้หลายรูปแบบ เช่น ผื่นลักษณะคล้ายก้นหอย Rupoid psoriasis  หรือคล้ายหยดน้ำ guttate psoriasis   _

  • เล็บ ลักษณะเล็บจะเป็นหลุมเรียก pitted nail หรือมีการหนาตัวอยู่ใต้เล็บ subungal keratosis ถ้าเป็นมากผุทั้งเล็บ
  • ข้อ มีอาการปวดข้อภายหลังจากมีอาการทางผิวหนัง ข้อที่ปวดมักเป็นข้อเล็กๆเริ่มที่ปลายนิ้วมือ เท้า มักเป็นสองข้าง บางครั้งอาจเป็นข้อใหญ่

                แนวทางการรักษาด้วยการแพทย์แผนไทย 
             โดย สิริภัจจ์ สหคลินิก

                    โรคนี้เป็นโรคผิวหนังชนิดหนึ่ง     ใครที่เป็นโรคนี้ถือว่าโชคร้ายมากๆ  เพราะโรคนี้การ
รักษาด้วยการแพทย์
แผนปัจจุบันไม่มียารักษา  มีแต่ยาที่บรรเทาตามอาการ 
และก็ไม่ทราบสาเหตุเพียงแต่รู้ปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดนั้น  มีหลายอย่างอาทิเช่น ความเครียด    ภาวะขาดสารอาหาร   ติดสุราเรื้อรัง     การแพ้อาหารหรือยา       ผมได้รักษาผู้ป่วยโรคนี้มามาก       โดยใช้ยาสมุนไพรแผนโบราณที่บรรพบุรุษได้ สืบทอดให้กับแพทย์แผนไทย
ปรากฎว่าได้ผลดีมาก    หลายคนกลับไปใช้ชีวิตประจำวัน         กลับไปอยู่ในสังคมได้อย่างสบายใจ    สมุนไพรที่ใช้รักษา   โรคนี้เป็นสมุนไพรที่มีรสเบื่อเมาเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ 
กระเบียน    กระเบา   สะบ้ามอญ     ทองพันชั่ง   ขันทองพยาบาท ฯลฯ    ปรึกษา สิริภัจจ์ สหคลินิก 
                   โทร.087-1639644
สมัครเรียนติดต่อ siripatclinic@gmail.com โทร.087-1639644,