แนวข้อสอบ การนวดไทย ชุดที่ ๑
โรงเรียนสิริภัจจ์การแพทย์แผนไทย
วิชา การนวดไทย อ. ประสิทธิ์ คงทรัพย์
คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวเท่านั้น
1. กระดูกแบ่งตามรูปทรงได้กี่ชนิด
1. 1 ชนิด 2. 3 ชนิด 3. 4 ชนิด 4. 6 ชนิด
2. กระดูกนิ้วเท้า จัดเป็นกระดูกที่มีรูปร่างอย่างไร
1. กระดูกยาว 2. กระดูกแบน 3. กระดูกสั้น 4. กระดูกรูปร่างแปลก
3. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับกระดูก
1. กระดูกในผู้ใหญ่ มีจำนวน 208 ชิ้น 2. กระดูกในวัยเด็ก มีจำนวน 300 ชิ้น
3. กระดูกแกนกลาง มีจำนวน 80 ชิ้น 4. กระดูกระยางค์ มีจำนวน 128 ชิ้น
4. กระดูกหยุดการเจริญเติบโตเมื่ออายุเท่าไร
1. อายุ 15 ปี 2. อายุ 20 ปี 3. อายุ 25 ปี 4. อายุ 30 ปี
5. กระดูกสันหลังในเด็กอายุ 3 เดือน มีลักษณะอย่างไร
1. เป็นรูปตัวซี (C-curve) 2. เป็นรูปตัวเอส (S-curve)
3. เป็นรูปตัวเอช (H-curve) 4. เป็นรูปตัวโอ (O-curve)
6. กระดูกอก มีจำนวนกี่ชิ้นในวัยเด็ก
1. 1 ชิ้น 2. 3 ชิ้น 3. 5 ชิ้น 4. 6 ชิ้น
7. ส่วนใดของสันหลังที่ทำหน้าที่ลดแรงกระแทกจากภายนอก
1. ตัวกระดูกสันหลัง (Body) 2. เอ็นยึดกระดูกสันหลัง
3. หลังคากระดูกสันหลัง (Lamina) 4. หมอนรองกระดูกสันหลัง (Vertibral dise)
8. กระดูกซี่โครง (Ribs) มีจำนวนทั้งหมดกี่ชิ้น
1. 12 ชิ้น 2. 18 ชิ้น 3. 24 ชิ้น 4. 26 ชิ้น
9. ข้อใดกล่าวถึงจำนวนของกระดูกระยางค์บนได้ถูกต้อง
1. กระดูกไหปลาร้า มีจำนวน 1 ชิ้น 2. กระดูกต้นแขน มีจำนวน 2 ชิ้น
3. กระดูกปลายแขนมีจำนวน 2 ชิ้น 4. กระดูกข้อมือ มีจำนวน 14 ชิ้น
10. ขอบด้านบนของกระดูกสะบัก (scapular) อยู่ตรงกับระดับกระดูกสันหลังช่วงอกใด
1. กระดูกสันหลังระดับอกข้อที่ 1 2. กระดูกสันหลังระดับอกข้อที่ 2
3. กระดูกสันหลังระดับอกข้อที่ 3 4. กระดูกสันหลังระดับอกข้อที่ 4
11. ข้อต่อใดที่เคลื่อนไหวได้อิสระมากที่สุด
1. ข้อสะโพก (Hip joint) 2. ข้อเท้า (Ankee joint)
3. ข้อมือ (Wrist joint) 4. ข้อกระดูกสันหลัง (Vertebral joint)
12. ข้อต่อใดที่เป็นข้อต่อแบบกระดูกอ่อน (Cartilaginous joint)
1. ข้อต่อหัวไหล่
2. ข้อต่อระหว่างกระดูกซี่โครงกับกระดูกอก
3. ข้อต่อกระโหลกศีรษะ
4. ข้อต่อระหว่างกระดูกปลายแขน
13. อวัยวะอะไรที่ช่วยลดแรงเสียดสีระหว่างเส้นเอ็นของกล้ามเนื้อกับข้อต่อ
1. ถุงน้ำเบอซ่า (Bursa)
2. น้ำซิลโนเวียล (Synovial Fluide)
3. กระดูกอ่อนของข้อต่อ (Articular Cartilage)
4. เอ็นยึดระหว่างข้อ (ligarnent)
14. กระดูกที่ยาวที่สุดในร่างกาย คือกระดูกชิ้นใด
1. กระดูกต้นแขน (Humerus) 2. กระดูกต้นขา (Femur)
3. กระดูกปลายขาด้านใน (Tibia) 4. กระดูกปลายขาด้านนอก (Fibula)
15. การปฏิสนธิ (Fertilization) เกิดจากเซลล์สืบพันธ์อะไรผสมกัน
1. Ovum (โอวุ่ม) กับ Testis (อัณฑะ) 2. Ovary (โอวารี่) กับ Sperm (สเปิร์ม)
3. Ovum (โอวุ่ม) กับ Sperm (สเปิร์ม) 4. ไม่มีข้อใดถูก
16. ระยะก่อนคลอด (Prenatal Period) หมายถึงระยะการเจริญเติบโตอย่างไร
1. ระยะตั้งแต่เป็น Zygoat (ไซโกรท) ไปจนถึงระยะ New born (เด็กแรกเกิด)
2. ระยะตั้งแต่ ปฏิสนธิ (Fertilization) ไปจนถึงเดือนที่ 10 (ระยะคลอด)
3. ระยะปฏิสนธิ ไปจนถึงระยะเด็กทารก (Infant) 4. ไม่มีข้อใดถูก
17. มนุษย์เราเข้าสู่วัยรุ่น เมื่ออายุเท่าไร
1. อายุ 10-12 ปี 2. อายุ 12-14 ปี 3. อายุ 13-15 ปี 4. ไม่มีข้อใดถูก
18. ในเพศหญิง ความสามารถในการสืบพันธ์จะหยุดลงเมื่อใด
1. อายุ 40-42 ปี 2. อายุ 40-45 ปี 3. อายุ 45-50 ปี 4. อายุ 48-50 ปี
19. โครโมโซมเพศ (Sex chromosomes) ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. เพศหญิงมีโครโมโซมเพศเป็น XY 2. เพศชายมีโครโมโซมเพศเป็น XX
3. เพศหญิงมีโครโมโซมเป็น XZ 4. ไม่มีข้อใดถูก
20. ระยะเวลาที่ปลอดภัยเมื่อต้องการมีเพศสัมพันธ์ ที่ป้องกันการตั้งครรภ์ได้ดีที่สุดคือช่วงเวลาใด
1. วันที่ 14 ของรอบเดือน 2. ก่อนมีรอบเดือน 7 วัน
3. หลังมีรอบเดือน 7 วัน 4. ถูก 2,3
21. ถ้าต้องการให้มีโอกาสการตั้งครรภ์มากที่สุด ควรมีเพศสัมพันธ์ในช่วงเวลาใด
1. ระหว่างวันที่ 7-14 ของรอบเดือน 2. ระหว่างวันที่ 1-5 ของรอบเดือน
3. ระหว่างวันที่ 21-28 ของรอบเดือน 4. ไม่มีข้อใดถูก
22. ฮอร์โมนที่รกสร้าง และหลั่งออกมามีฤทธิ์อย่างไร
1. กระตุ้นให้มีการตกไข่เร็วขึ้น 2. กระตุ้นคอปัสลูเตียม (Corpus Lutum)
3. กระตุ้นให้ต่อมน้ำนมทำงาน 4. ถูกทุกข้อ
23. ท่อน้ำนมในเต้านม แต่ละข้าง มีจำนวนเท่าไร
1. 5-10 ท่อ 2. 10-15 ท่อ 3. 15-20 ท่อ 4. 20-25 ท่อ
24. ต่อมขับเมือก (Cowper’s glands) มีหน้าที่อะไร
1. ขับน้ำอสุจิ (Semen) ที่มีลักษณะข้นขาว
2. ขับน้ำเมือกใสๆ เมื่อมีความรู้สึกทางเพศ
3. สร้างสารอาหารหล่อเลี้ยงตัวอสุจิ
4. ไม่มีข้อใดถูก
25. ไข่ที่ผสมกับอสุจิ แล้วจะฝังตัวที่ผนังมดลูกเรียบร้อย ภายในวันที่เท่าไร
1. ภายในวันที่ 1 ของรอบเดือน 2. ภายในวันที่ 14 ของรอบเดือน
3. ภายในวันที่ 28 ของรอบเดือน 4. ถูกทุกข้อ
26. ในระยะตั้งครรภ์ รกจะทำหน้าที่เป็นต่อมไร้ท่อสร้าง และหลั่งฮอร์โมนอะไรออกมา
1. เอสโตรเจน 2. HCG (เอช-ซี-จี)
3. โปรเจสเตอโรน 4. อินซูลิน
27. มดลูกส่วนใดที่มีบทบาทสำคัญที่ทำให้บีบตัวให้เด็กคลอด
1. มดลูกส่วนต้น 2. ยอดมดลูก 3. มดลูกส่วนกลาง 4. ตัวมดลูก
28. การที่มดลูกหย่อนเกิดเพราะสาเหตุใด
1. มดลูกโต 2. มดลูกตั้งอยู่ผิดตำแหน่ง
3. เอ็นยึดมดลูกหย่อน 4. ไม่มีข้อใดถูก
29. ข้อใดคือหน้าที่ของระบบประสาท (Nervous System)
1. รับความรู้สึก (Sensory Function)
2. แปลผลการ เปลี่ยนแปลง ( integrative Function)
3. ตอบสนองต่อการแปลผลโดยการหดตัวของกล้ามเนื้อ และการหลั่งสารของต่อม (Motor
Function 4. ถูกทุกข้อ
30. ระบบประสาท แบ่งตามลักษณะโครงสร้าง เป็นกี่ระบบ
1. 2 ระบบ 2. 3 ระบบ 3. 4 ระบบ 4. 5 ระบบ
31. ระบบประสาทส่วนกลาง หมายถึงข้อใด
1. เส้นประสาทไขสันหลัง 2. เส้นประสาทสมอง
3. ไขสันหลัง 4. ถูกทุกข้อ
32. ระบบประสาทส่วนปลาย ประกอบด้วยอะไร
1. เส้นประสาทสมอง 2. เส้นประสาทไขสันหลัง
3. ปลายประสาท 4. ถูกทุกข้อ
33. ระบบประสาทรับความรู้สึก มีองค์ประกอบอะไร
1. ปลายประสาทรับความรู้สึก (Receptor) 2. เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (Sensory
nervous)
3. ไขสันหลัง และสมอง 4. ถูกทุกข้อ
34. ระบบประสาทสั่งการ (Motor Nervous System) มีหน้าที่อย่างไร
1. นำคำสั่งจากกล้ามเนื้อส่งไปยังสมอง 2. นำคำสั่งจากต่อมต่างๆ ส่งไปยังสมอง
3. นำคำสั่งจากสมองส่งไปยังกล้ามเนื้อ และต่อมต่าง 4. ถูกทุกข้อ
35. สมองสามารถแบ่งตามโครงสร้างได้กี่ส่วน
1. 3 ส่วน 2. 4 ส่วน 3. 5 ส่วน 4. ไม่มีข้อใดถูก
36. ข้อใดไม่ใช่ส่วนของสมอง
1. สมองใหญ่ (Cerebrum) 2. สมองน้อย (Cerebellum)
3. ก้านสมอง (Brain Stem) 4. ไขสันหลัง
37. ก้านสมอง ประกอบด้วยส่วนใด
1. ไดเอนเชพลาลอน (Diencephalom) 2. พอนส์ (Pons)
3. Medulla Oblongata (เมดาลา ออฟลองกาต้า) 4. ถูกข้อ 2,3
38. สมองส่วนกลาง (Midbrain) จัดอยู่ในสมองส่วนใด
1. สมองใหญ่ 2. สมองน้อย 3. ก้านสมอง 4. ไม่มีข้อใดถูก
39. สมองใหญ่ (Cerebrum) ในมนุษย์มีน้ำหนักประมาณเท่าไร
1. 1,200 กรัม 2. 1,500 กรัม 3. 1,600 กรัม 4. ไม่มีข้อใดถูก
40. สมองส่วนใดที่ทำหน้าที่เรียนรู้พฤติกรรมต่างๆ ,ความจำ, การตัดสินใจ การแก้ปัญหา และการรับ
รู้สึกต่างๆ ความจำ การตัดสินใจ การแก้ปัญหา และการรับรู้สึกต่างๆ
1. สมองน้อย (Cerebellum) 2. ก้านสมอง (Brain Stem)
3. สมองใหญ่ (Cerebrum) 4. ไม่มีข้อใดถูก
41. สมองใหญ่มีเนื้อสมอง 2 ชั้น ชั้นในและนอก เนื้อสมองใหญ่ชั้นนอก (Cerebral Cortex) มีสีอะไร
1. สีดำ 2. สีขาว 3. สีเทา 4. ไม่มีข้อใดถูก
42. สมองใหญ่ (Cerebrum) แบ่งได้กี่พู
1. 3 พู 2. 4 พู 3. 5 พู 4. 6 พู
43. สมองใหญ่พูใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ และการเคลื่อนไหวซีกตรงข้ามที่
เรียกว่า “Motor area” (มอเตอร์ แอเรีย)
1. Frontal lobe (พรอนตอล โลบ) 2. Parietal lobe (พาไรอิตอล โลบ)
3. Occipital lobe (ออกซิปิตอล โลบ) 4. Temporal lobe (เทมโพรอล โลบ)
44. น้ำปัสสาวะมีคุณสมบัติทางเคมีอย่างไร
1. มีความถ่วงจำเพาะ 1.001-1.040
2. มีความเป็นกรดอ่อนๆ ที่ PH = 6
3. มีสีเหลืองอ่อน เนื่องมาจาก Urochrom 4. ถูกทุกข้อ
45. ก้านอัณฑะ (Epididymis) มีหน้าที่อะไร
1. ผลิตตัวอสุจิ 2. เป็นที่พักตัวอสุจิชั่วคราว
3. สร้างน้ำอสุจิ 4. สร้างสารหล่อเลี้ยงตัวอสุจิ
46. ขณะที่ไม่มีน้ำปัสสาวะอยู่ในกระเพาะปัสสาวะอยู่เลย จะมีปริมาตรเท่าไร
1. ไม่เกิน 25 ลบ. ซม. 2. ไม่เกิน 50 ลบ. ซม.
3. ไม่เกิน 75 ลบ. ซม. 4. ไม่เกิน 500 ลบ. ซม.
47. กระเพาะปัสสาวะสามารถเก็บน้ำปัสสาวะได้เต็มที่เท่าไร
1. 300 ลบ. ซม. 2. 400 ลบ. ซม.
3. 500 ลบ. ซม. 4. 600 ลบ. ซม.
48. ข้อใดไม่ใช่อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับระบบขับถ่ายปัสสาวะ
1. หลอดไต 2. หลอดปัสสาวะ
3. ต่อมขับเมือก 4. ไต
49. ข้อใดกล่าวได้ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับไต (Kidneys)
1. ไตมี 2 ข้าง มีรูปร่างเหมือนเมล็ดถั่ว สีน้ำตาลแกมแดง
2. ไตอยู่ระหว่างกระดูกสันหลังช่วงอกที่ 12 และระดับกระดูกสันหลังช่วงเอวที่ 3
3. มองด้านหน้า ไตจะอยู่ระหว่างกระดูกอ่อนของซี่โครงที่ 6 กับระดับ 2.5 ซม. เหนือสะดือ
4. กระดูกซี่โครงที่ 12 จะทอดผ่านไตทำมุม 45 องศา
50. ของเสียที่เกิดจากเซลล์ในร่างกายที่ร่างกายต้องขับออกคืออะไร
1. ก๊าซ CO2 2. ยูเรีย 3. กรดยูริก 4. ถูกทุกข้อ
51.ผู้ป่วยโรคไตอักเสบ มักตรวจพบสารอะไรในปัสสาวะ
1. เม็ดเลือด 2. ยูริคแอซิด
3. โปรตีน 4. ถูกทุกข้อ
52. สารอินทรีย์ในข้อใดที่สามารถตรวจพบในปัสสาวะได้
1. แอมโมเนีย
2. ครีอาตินีน (Creatinine)
3. กรดยูริก
4. ถูกทุกข้อ
53. สารใดที่ถ้าตรวจพบในปัสสาวะอาจถือว่าไตมีความผิดปกติ
1. บิลิรูบิน (Bilirubin)
2. Ketone Body (ดีโตน บอดี)
3. เม็ดเลือด
4. ถูกทุกข้อ
54. ในสภาวะปกติคนเราจะปัสสาวะไม่เกินวันละกี่ครั้ง
1. 6 ครั้ง 2. 10 ครั้ง
3. 12 ครั้ง 4. 15 ครั้ง 55. ข้อใดเป็นกล้ามเนื้อลิ้น
1. Genioglosus( เจนิโอกลอสซัส) 2. styloglossus( สไตโลกลอสซัส)
3. Hypoglosus (ไฮโปกลอสซัส) 4. ถูกทุกข้อ
56. จุดเกาะต้นของกล้ามเนื้อ สเตอโนไคโดมาสตอยด์ (Sternoclidomadtoid) คืออะไร
1. บนกระดูกอก และไหปลาร้า 2. บนกระดูกซี่โครงคู่ที่ 1
3. บนกระดูกมาสตอยด์ 4. บนกระดูกขากรรไกร
57. กล้ามเนื้อ Rhomboidius major (รอมบอยเดียส เมเจอร์) ทำหน้าที่อะไร
1. ช่วยหมุนแขนเข้าใน (Internal Rotation)
2. ช่วยหมุน หมุนแขนออกด้านนอก (Extraction)
3. ช่วยกระดูกสะบักเข้าหาลำตัว (Retraction)
4. ช่วยดึงกระดูกสะบักออกจากแนวลำตัว (Protraction)
58. กล้ามเนื้อใดที่ช่วยในการหายใจ
1. ไดอะแฟรม (Diaphragm)
2. เอกเทอร์นอล อินเตอร์คลอสตอล (External Intercostals)
3. อินเทอร์นอล อินเตอร์คอสตอล (Internal Intercostal)
4. ถูกทุกข้อ
59. บริเวณที่เรียกว่า “จุดบอด (Blind Spot) ไบลด์สปอท” เป็นบริเวณที่มีจุดแตกต่างจากบริเวณอื่นของ Retina อย่างไร
1. มีแต่ เซลล์รูปโคนมาก 2. มีแต่เซลล์รูปทรงกระบอกมาก
3. ไม่มีทั้งเซลล์รูปแท่ง และเซลล์รูปทรงกระบอก 4. ไม่มีข้อใดถูก
60. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของไต
1. ควบคุมความสมดุลของฮอร์โมนทั่วร่างกาย
2. ควบคุมความสมดุลของน้ำและเกลือแร่
3. ควบคุมความเป็นกรด-ด่าง
4. ทำลายสารพิษ (Detoxification)
61. หน่วยไตที่เล็กที่สุด ที่ทำหน้าที่กรอง และสร้างน้ำปัสสาวะ เรียกว่าอะไร
1. ท่อไต 2. เนฟรอน (Nephrons)
3. กรวยไต 4. ไม่มีข้อใดถูก
62. เลือดเข้าสู่ไต นาทีละเท่าไร
1. 1,200 มล. 2. 25% ของเลือดที่ออกจากหัวใจ
3. 1,000 มล. 4. ถูกทั้ง 1,2
63. ออแกแนลใดในเซลล์ที่ทำหน้าที่ ช่วยในการแบ่งเซลล์
1. ไรโบโซม 2. เซนโตรโซม
3. ไลโซโซม 4. ไมโตรคอนเดรีย
64. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับกระบวนการสร้างน้ำปัสสาวะ
1. กระบวนการกรองที่ Glomerulus เรียกว่า Glomerula filtration
2. กระบวนการดูดซึมกลับที่ท่อไต เรียกว่า Tubular filtration
3. กระบวนการขับออกที่ท่อไต เรียกว่า Tubular Secretion
4. ไม่มีข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
65. สารอะไรที่ไม่ควรผ่านการกรองที่ Glomerulus ในภาวะที่ไตเป็นปกติ
1. ยูเรีย 2. กรดยูริก 3. น้ำ 4. โปรตีน
66. หลอดลมจัดเป็นกระดูกชนิดใด
1. กระดูกอ่อน 2. กระดูกแข็ง 3. ถูกทั้ง 1,2 4. ผิดทั้ง 1,2
67. เลือดกำเดาที่ออกทางจมูกมีวิธีแก้ไขเบื้องต้นอย่างไร
1. ใช้น้ำอุ่นประคบบริเวณจมูก 2. ใช้กดจุดนวดบริเวณดั้งจมูก
3. ใช้มือบีบให้ติดกันแน่นสักครู่ 4. ไม่มีข้อใดถูก
68. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของจมูก
1. ทำให้เกิดเสียง 2. ป้องกันเชื้อโรค 3. รับเสียง 4. รับกลิ่น
69. หลอดคอ (Pharynx) แบ่งเป็นกี่ส่วน
1. 2 ส่วน 2. 3 ส่วน 3. 4 ส่วน 4. 5 ส่วน
70. ช่องหลอดคอบริเวณตั้งแต่จมูกถึงเพดานอ่อน เรียกว่าอะไร
1. Nasopharynx (นาโซฟาริงส์) 2. Oropharynx (ออโรฟาริงส์)
3. Larynx (ลาริงส์) 4. Baropharynx (บาโรฟาริงส์)
71. อะไรเป็นอวัยวะที่ช่วยไม่ให้อาหารที่กลืนเข้าไปขึ้นไปในช่องจมูก
1. ทอลซิล 2. เพดานแข็ง 3. ลิ้นไก่ 4. กล่องเสียง
72. ทางเดินอาหาร และอากาศจะแยกกันที่บริเวณใด
1. นาโซฟาริงส์ (Nasopharynx) 2. ออโรฟาริงส์ (Oropharynx)
3. ลาริงส์ (Larynx) 4. บาโรฟาริงส์ (Baropharynx)
73. โครโมโซมเพศ ในเซลล์ร่างกายมนุษย์มีกี่คู่
1. 1 คู่ 2. 2 คู่ 3. 3 คู่ 4. 4 คู่
74. กล่องเสียงประกอบด้วยกระดูกอะไรบ้าง
1. ไทรอยด์ คาร์ทิเลจ (Thyroid Cartilage) 2. ไคคอยด์ คาร์ทิเลจ (Ciroid Cartilage)
3. ถูกทั้ง 1,2 4. ผิดทั้ง 1,2
75. การนอนกรน เกิดจากอะไร
1. ลิ้นไก่ตกปิดทางเดินหายใจ 2. ลิ้นตกปิดทางเดินหายใจ
3. ถูกทั้ง 1,2 4. ผิดทั้ง 1,2
76. . ออแกเนล (Organells) ใด ที่อยู่ในซัยโตพลาสม ที่ทำหน้าที่สร้างพลังงานให้แก่เซลล์
1. ไมโตครอนเดรีย (Mytochondria) 2. ไรโบโซม (Ribosome)
3. กอลไล แอปพาราตัส (Golqi apparatus) 4. นิวเคลียส (Nucleus)
77. หลอดลมแยกข้างใด มีมุมที่ลาดเอียงมากกว่าอีกด้านหนึ่ง
1. ด้านขวา 2. ด้านซ้าย 3. ด้านหน้า 4. ด้านหลัง
78. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับปอด
1. ปอดข้างซ้ายมี 2 กลีบ 2. ปอดข้างขวามี 3 กลีบ
3. ขั้วปอดเรียกว่า ไฮเลี่ยม (Hilium) 4. ไม่มีข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
79. เม็ดเลือดขาวในภาวะปกติมีปริมาณเท่าไร
1. 1,000 – 3,000 ลม.มม. 2. 3,000 – 5,000 ลม.มม.
3. 5,000 -10,000 ลม.มม. 4. ถูกทั้งข้อ 1,2
80. ผนังของระบบทางเดินอาหารประกอบด้วยเยื่อกี่ชั้น
1. 2 ชั้น 2. 3 ชั้น 3. 4 ชั้น 4. 5 ชั้น
81. ชั้นในสุดของระบบทางเดินอาหาร เรียกว่าชั้น Mucous Coat (มิวคัสโคท) ในชั้นนี้มีหน้าที่อย่างไร
1. มีต่อมต่างๆ ช่วยขับน้ำย่อยสำหรับย่อยอาหาร 2. บีบตัวทำให้อาหารเคลื่อนตัวไปได้
3. เป็นที่อยู่ของหลอดเลือด และน้ำเหลือง 4. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
82. ชั้นกล้ามเนื้อ (Muscular Coat = มัสคิวล่า โคท) ที่อยู่ในทางเดินอาหารส่วนใหญ่เป็นกล้ามเนื้อ
ชนิดใด
1. กล้ามเนื้อลาย 2. กล้ามเนื้อเรียบ 3. กล้ามเนื้อหัวใจ 4. ถูกทุกข้อ
83. อัตราส่วนของปริมาตรเม็ดเลือดแดงต่อปริมาตรเลือดทั้งหมด เรียกว่าอะไร
1. ฮีโมโกลบิน 2. เมลาโทนิน 3. ฮีมาโตคริต (Hct) 4. ไม่มีข้อใดถูก
84. เส้นประสาทที่ควบคุมการทำงานของระบบทางเดินอาหาร คือระบบใด
1. ระบบ Somatic (โซมาติก) 2. ระบบ Sensory (เซนเซอรี่)
3. ระบบอัตโนมัติ 4. ไม่มีข้อใดถูก
85. เส้นประสาทสมองที่มาควบคุมการเคลื่อนไหวของลิ้นคืออะไร
1. คู่ที่ 10 (Vagus Nerve) 2. คู่ที่ 11 (Accessory Nerve)
3. คู่ที่ 12 (Hypoglossal Nerve) 4. ไม่มีข้อใดถูก
86. ฮีโมโกลบิน มีหน้าที่อะไร
1. ช่วยขนส่ง CO2 (ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์) จากปอด
2. ช่วยขนส่ง O2 (ออกซิเจน) ออกจากปอด
3. ช่วยขนส่ง N2 (ไนโตรเจน) ออกจากปอด 4. ไม่มีข้อใดถูก
87. เซลล์ในลูกอัณฑะสร้างฮอร์โมนอะไร
1. เอสโตเจน (Estrogen) 2. โปรเจสเตอโรน (Progesterone)
3. เทสโทสเตอโรน (Testosterone) 4. ไม่มีข้อใดถูก
88. มนุษย์มีเลือดเป็นองค์ประกอบของร่างกายเท่าไร
1. 5-6 ลิตร 2. 6-7 ลิตร 3. 4-8 ลิตร 4. ไม่มีข้อใดถูก
89. ต่อมน้ำลายมีกี่ต่อม
1. 3 ต่อม 2. 4 ต่อม 3. 5 ต่อม 4. 6 ต่อม
90. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ
1. สร้างสารเคมีที่เรียกว่า “ฮอร์โมน
2. เมื่อร่างกายใช้ประโยชน์จากฮอร์โมน แล้วร่างกายก็จะเก็บสะสมไว้
3. ฮอร์โมนช่วยควบคุมปฏิกิริยาภายในเซลล์
4. ฮอร์โมนจะซึมเข้าสู่กระแสเลือด และไปออกฤทธิ์ที่อวัยวะเป้าหมาย
91. ในเพศชาย อาศัยฮอร์โมน Oxytocin (ออกซิโตซิน) ทำอะไร
1. ช่วยในการสร้างตัวอสุจิ (Sperm) 2. ช่วยให้มีความรู้สึกทางเพศมากขึ้น
3. ช่วยให้หลั่งน้ำอสุจิ 4. ช่วยให้อัณฑะผลิตน้ำอสุจิ
92. ข้อใดกล่าวถึงต่อมไทรอยด์ได้ไม่ถูกต้อง
1. เป็นต่อมไร้ท่อที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย 2. มีน้ำหนักประมาณ 25 กรัม
3. ตั้งอยู่ด้านหน้าของหลอดอาหาร 4. สร้างฮอร์โมนไทรอกซิน
93. ฮอร์โมนไทรอกซิน ทำหน้าที่อย่างไร
1. ควบคุมอัตราการ เมตาบอลิซึม และควบคุมฮอร์โมนเพศ
2. ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของร่างกาย
3. ทำหน้าที่เปลี่ยนกลูโคสให้เป็นกรดอะมิโน 4. ไม่มีข้อใดถูก
94. ข้อใดกล่าวถึงเหตุผลของตำแหน่งที่ควรระวังในการนวดได้ถูกต้อง
1. บริเวณทัดดอกไม้ ต้องระวังเพราะเป็นบริเวณที่มีเส้นประสาทมาก
2. บริเวณกะหม่อมของเด็กที่อายุต่ำกว่า 2 ขวบ ยังไม่ปิด ทำให้อันตรายต่อสมอง
3. บริเวณใบหน้าด้านหน้าหูต้องระวังเพราะมีกระดูกเปราะบาง
4. ไม่มีข้อใดกล่าวถูกต้อง
95. บริเวณคอโดยเฉพาะด้านหน้าในการนวดต้องระวังอวัยวะใด
1. ต่อมน้ำลาย 2. ต่อมน้ำเหลือง
3. หลอดเลือดแดง 4. ถูกทุกข้อ
96. การนวดหรือกดบริเวณต่อมน้ำเหลืองอาจจะเกิดปัญหาอะไร
1. ชาหรืออ่อนแรงที่แขน 2. เลือดออกไม่หยุด
3. บวมหรืออักเสบ 4. ถูกทุกข้อ
97. การห้าม ดัด ดึงคอ เนื่องจากอาจเป็นอันตรายด้วยเหตุใด
1. กระดูกคอเคลื่อนทับเส้นประสาท 2. เอ็นยึดกระดูกคอฉีกขาด
3. เส้นเลือดบริเวณคอฉีกขาด 4. ถูกทุกข้อ
98. ในปัจจุบันมะเร็งชนิดใดที่เป็นสาเหตุทำให้คนอายุสูงสุด
1. มะเร็งปากมดลูก 2. มะเร็งเต้านม
3. มะเร็งตับ และถุงน้ำดี 4. มะเร็งลำไส้ใหญ่
99. บริเวณก้านสมอง (Brain stem) หากได้รับอันตรายจะเกิดปัญหาอย่างไร
1. หัวใจหยุดเต้น 2. หยุดการหายใจ
3. เดินเซ 4. ถูกเฉพาะ 1,2
100. การยืดกล้ามเนื้อมัดใหญ่ แบบหยุดค้างไว้ ควรยืดค้างไว้นานเท่าไร
1. 5-10 วินาที 2. 10-30 วินาที 3. 30-40 วินาที 4. 40-60 วินาที
วิชา การนวดไทย อ. ประสิทธิ์ คงทรัพย์
คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวเท่านั้น
1. กระดูกแบ่งตามรูปทรงได้กี่ชนิด
1. 1 ชนิด 2. 3 ชนิด 3. 4 ชนิด 4. 6 ชนิด
2. กระดูกนิ้วเท้า จัดเป็นกระดูกที่มีรูปร่างอย่างไร
1. กระดูกยาว 2. กระดูกแบน 3. กระดูกสั้น 4. กระดูกรูปร่างแปลก
3. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับกระดูก
1. กระดูกในผู้ใหญ่ มีจำนวน 208 ชิ้น 2. กระดูกในวัยเด็ก มีจำนวน 300 ชิ้น
3. กระดูกแกนกลาง มีจำนวน 80 ชิ้น 4. กระดูกระยางค์ มีจำนวน 128 ชิ้น
4. กระดูกหยุดการเจริญเติบโตเมื่ออายุเท่าไร
1. อายุ 15 ปี 2. อายุ 20 ปี 3. อายุ 25 ปี 4. อายุ 30 ปี
5. กระดูกสันหลังในเด็กอายุ 3 เดือน มีลักษณะอย่างไร
1. เป็นรูปตัวซี (C-curve) 2. เป็นรูปตัวเอส (S-curve)
3. เป็นรูปตัวเอช (H-curve) 4. เป็นรูปตัวโอ (O-curve)
6. กระดูกอก มีจำนวนกี่ชิ้นในวัยเด็ก
1. 1 ชิ้น 2. 3 ชิ้น 3. 5 ชิ้น 4. 6 ชิ้น
7. ส่วนใดของสันหลังที่ทำหน้าที่ลดแรงกระแทกจากภายนอก
1. ตัวกระดูกสันหลัง (Body) 2. เอ็นยึดกระดูกสันหลัง
3. หลังคากระดูกสันหลัง (Lamina) 4. หมอนรองกระดูกสันหลัง (Vertibral dise)
8. กระดูกซี่โครง (Ribs) มีจำนวนทั้งหมดกี่ชิ้น
1. 12 ชิ้น 2. 18 ชิ้น 3. 24 ชิ้น 4. 26 ชิ้น
9. ข้อใดกล่าวถึงจำนวนของกระดูกระยางค์บนได้ถูกต้อง
1. กระดูกไหปลาร้า มีจำนวน 1 ชิ้น 2. กระดูกต้นแขน มีจำนวน 2 ชิ้น
3. กระดูกปลายแขนมีจำนวน 2 ชิ้น 4. กระดูกข้อมือ มีจำนวน 14 ชิ้น
10. ขอบด้านบนของกระดูกสะบัก (scapular) อยู่ตรงกับระดับกระดูกสันหลังช่วงอกใด
1. กระดูกสันหลังระดับอกข้อที่ 1 2. กระดูกสันหลังระดับอกข้อที่ 2
3. กระดูกสันหลังระดับอกข้อที่ 3 4. กระดูกสันหลังระดับอกข้อที่ 4
11. ข้อต่อใดที่เคลื่อนไหวได้อิสระมากที่สุด
1. ข้อสะโพก (Hip joint) 2. ข้อเท้า (Ankee joint)
3. ข้อมือ (Wrist joint) 4. ข้อกระดูกสันหลัง (Vertebral joint)
12. ข้อต่อใดที่เป็นข้อต่อแบบกระดูกอ่อน (Cartilaginous joint)
1. ข้อต่อหัวไหล่
2. ข้อต่อระหว่างกระดูกซี่โครงกับกระดูกอก
3. ข้อต่อกระโหลกศีรษะ
4. ข้อต่อระหว่างกระดูกปลายแขน
13. อวัยวะอะไรที่ช่วยลดแรงเสียดสีระหว่างเส้นเอ็นของกล้ามเนื้อกับข้อต่อ
1. ถุงน้ำเบอซ่า (Bursa)
2. น้ำซิลโนเวียล (Synovial Fluide)
3. กระดูกอ่อนของข้อต่อ (Articular Cartilage)
4. เอ็นยึดระหว่างข้อ (ligarnent)
14. กระดูกที่ยาวที่สุดในร่างกาย คือกระดูกชิ้นใด
1. กระดูกต้นแขน (Humerus) 2. กระดูกต้นขา (Femur)
3. กระดูกปลายขาด้านใน (Tibia) 4. กระดูกปลายขาด้านนอก (Fibula)
15. การปฏิสนธิ (Fertilization) เกิดจากเซลล์สืบพันธ์อะไรผสมกัน
1. Ovum (โอวุ่ม) กับ Testis (อัณฑะ) 2. Ovary (โอวารี่) กับ Sperm (สเปิร์ม)
3. Ovum (โอวุ่ม) กับ Sperm (สเปิร์ม) 4. ไม่มีข้อใดถูก
16. ระยะก่อนคลอด (Prenatal Period) หมายถึงระยะการเจริญเติบโตอย่างไร
1. ระยะตั้งแต่เป็น Zygoat (ไซโกรท) ไปจนถึงระยะ New born (เด็กแรกเกิด)
2. ระยะตั้งแต่ ปฏิสนธิ (Fertilization) ไปจนถึงเดือนที่ 10 (ระยะคลอด)
3. ระยะปฏิสนธิ ไปจนถึงระยะเด็กทารก (Infant) 4. ไม่มีข้อใดถูก
17. มนุษย์เราเข้าสู่วัยรุ่น เมื่ออายุเท่าไร
1. อายุ 10-12 ปี 2. อายุ 12-14 ปี 3. อายุ 13-15 ปี 4. ไม่มีข้อใดถูก
18. ในเพศหญิง ความสามารถในการสืบพันธ์จะหยุดลงเมื่อใด
1. อายุ 40-42 ปี 2. อายุ 40-45 ปี 3. อายุ 45-50 ปี 4. อายุ 48-50 ปี
19. โครโมโซมเพศ (Sex chromosomes) ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. เพศหญิงมีโครโมโซมเพศเป็น XY 2. เพศชายมีโครโมโซมเพศเป็น XX
3. เพศหญิงมีโครโมโซมเป็น XZ 4. ไม่มีข้อใดถูก
20. ระยะเวลาที่ปลอดภัยเมื่อต้องการมีเพศสัมพันธ์ ที่ป้องกันการตั้งครรภ์ได้ดีที่สุดคือช่วงเวลาใด
1. วันที่ 14 ของรอบเดือน 2. ก่อนมีรอบเดือน 7 วัน
3. หลังมีรอบเดือน 7 วัน 4. ถูก 2,3
21. ถ้าต้องการให้มีโอกาสการตั้งครรภ์มากที่สุด ควรมีเพศสัมพันธ์ในช่วงเวลาใด
1. ระหว่างวันที่ 7-14 ของรอบเดือน 2. ระหว่างวันที่ 1-5 ของรอบเดือน
3. ระหว่างวันที่ 21-28 ของรอบเดือน 4. ไม่มีข้อใดถูก
22. ฮอร์โมนที่รกสร้าง และหลั่งออกมามีฤทธิ์อย่างไร
1. กระตุ้นให้มีการตกไข่เร็วขึ้น 2. กระตุ้นคอปัสลูเตียม (Corpus Lutum)
3. กระตุ้นให้ต่อมน้ำนมทำงาน 4. ถูกทุกข้อ
23. ท่อน้ำนมในเต้านม แต่ละข้าง มีจำนวนเท่าไร
1. 5-10 ท่อ 2. 10-15 ท่อ 3. 15-20 ท่อ 4. 20-25 ท่อ
24. ต่อมขับเมือก (Cowper’s glands) มีหน้าที่อะไร
1. ขับน้ำอสุจิ (Semen) ที่มีลักษณะข้นขาว
2. ขับน้ำเมือกใสๆ เมื่อมีความรู้สึกทางเพศ
3. สร้างสารอาหารหล่อเลี้ยงตัวอสุจิ
4. ไม่มีข้อใดถูก
25. ไข่ที่ผสมกับอสุจิ แล้วจะฝังตัวที่ผนังมดลูกเรียบร้อย ภายในวันที่เท่าไร
1. ภายในวันที่ 1 ของรอบเดือน 2. ภายในวันที่ 14 ของรอบเดือน
3. ภายในวันที่ 28 ของรอบเดือน 4. ถูกทุกข้อ
26. ในระยะตั้งครรภ์ รกจะทำหน้าที่เป็นต่อมไร้ท่อสร้าง และหลั่งฮอร์โมนอะไรออกมา
1. เอสโตรเจน 2. HCG (เอช-ซี-จี)
3. โปรเจสเตอโรน 4. อินซูลิน
27. มดลูกส่วนใดที่มีบทบาทสำคัญที่ทำให้บีบตัวให้เด็กคลอด
1. มดลูกส่วนต้น 2. ยอดมดลูก 3. มดลูกส่วนกลาง 4. ตัวมดลูก
28. การที่มดลูกหย่อนเกิดเพราะสาเหตุใด
1. มดลูกโต 2. มดลูกตั้งอยู่ผิดตำแหน่ง
3. เอ็นยึดมดลูกหย่อน 4. ไม่มีข้อใดถูก
29. ข้อใดคือหน้าที่ของระบบประสาท (Nervous System)
1. รับความรู้สึก (Sensory Function)
2. แปลผลการ เปลี่ยนแปลง ( integrative Function)
3. ตอบสนองต่อการแปลผลโดยการหดตัวของกล้ามเนื้อ และการหลั่งสารของต่อม (Motor
Function 4. ถูกทุกข้อ
30. ระบบประสาท แบ่งตามลักษณะโครงสร้าง เป็นกี่ระบบ
1. 2 ระบบ 2. 3 ระบบ 3. 4 ระบบ 4. 5 ระบบ
31. ระบบประสาทส่วนกลาง หมายถึงข้อใด
1. เส้นประสาทไขสันหลัง 2. เส้นประสาทสมอง
3. ไขสันหลัง 4. ถูกทุกข้อ
32. ระบบประสาทส่วนปลาย ประกอบด้วยอะไร
1. เส้นประสาทสมอง 2. เส้นประสาทไขสันหลัง
3. ปลายประสาท 4. ถูกทุกข้อ
33. ระบบประสาทรับความรู้สึก มีองค์ประกอบอะไร
1. ปลายประสาทรับความรู้สึก (Receptor) 2. เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (Sensory
nervous)
3. ไขสันหลัง และสมอง 4. ถูกทุกข้อ
34. ระบบประสาทสั่งการ (Motor Nervous System) มีหน้าที่อย่างไร
1. นำคำสั่งจากกล้ามเนื้อส่งไปยังสมอง 2. นำคำสั่งจากต่อมต่างๆ ส่งไปยังสมอง
3. นำคำสั่งจากสมองส่งไปยังกล้ามเนื้อ และต่อมต่าง 4. ถูกทุกข้อ
35. สมองสามารถแบ่งตามโครงสร้างได้กี่ส่วน
1. 3 ส่วน 2. 4 ส่วน 3. 5 ส่วน 4. ไม่มีข้อใดถูก
36. ข้อใดไม่ใช่ส่วนของสมอง
1. สมองใหญ่ (Cerebrum) 2. สมองน้อย (Cerebellum)
3. ก้านสมอง (Brain Stem) 4. ไขสันหลัง
37. ก้านสมอง ประกอบด้วยส่วนใด
1. ไดเอนเชพลาลอน (Diencephalom) 2. พอนส์ (Pons)
3. Medulla Oblongata (เมดาลา ออฟลองกาต้า) 4. ถูกข้อ 2,3
38. สมองส่วนกลาง (Midbrain) จัดอยู่ในสมองส่วนใด
1. สมองใหญ่ 2. สมองน้อย 3. ก้านสมอง 4. ไม่มีข้อใดถูก
39. สมองใหญ่ (Cerebrum) ในมนุษย์มีน้ำหนักประมาณเท่าไร
1. 1,200 กรัม 2. 1,500 กรัม 3. 1,600 กรัม 4. ไม่มีข้อใดถูก
40. สมองส่วนใดที่ทำหน้าที่เรียนรู้พฤติกรรมต่างๆ ,ความจำ, การตัดสินใจ การแก้ปัญหา และการรับ
รู้สึกต่างๆ ความจำ การตัดสินใจ การแก้ปัญหา และการรับรู้สึกต่างๆ
1. สมองน้อย (Cerebellum) 2. ก้านสมอง (Brain Stem)
3. สมองใหญ่ (Cerebrum) 4. ไม่มีข้อใดถูก
41. สมองใหญ่มีเนื้อสมอง 2 ชั้น ชั้นในและนอก เนื้อสมองใหญ่ชั้นนอก (Cerebral Cortex) มีสีอะไร
1. สีดำ 2. สีขาว 3. สีเทา 4. ไม่มีข้อใดถูก
42. สมองใหญ่ (Cerebrum) แบ่งได้กี่พู
1. 3 พู 2. 4 พู 3. 5 พู 4. 6 พู
43. สมองใหญ่พูใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ และการเคลื่อนไหวซีกตรงข้ามที่
เรียกว่า “Motor area” (มอเตอร์ แอเรีย)
1. Frontal lobe (พรอนตอล โลบ) 2. Parietal lobe (พาไรอิตอล โลบ)
3. Occipital lobe (ออกซิปิตอล โลบ) 4. Temporal lobe (เทมโพรอล โลบ)
44. น้ำปัสสาวะมีคุณสมบัติทางเคมีอย่างไร
1. มีความถ่วงจำเพาะ 1.001-1.040
2. มีความเป็นกรดอ่อนๆ ที่ PH = 6
3. มีสีเหลืองอ่อน เนื่องมาจาก Urochrom 4. ถูกทุกข้อ
45. ก้านอัณฑะ (Epididymis) มีหน้าที่อะไร
1. ผลิตตัวอสุจิ 2. เป็นที่พักตัวอสุจิชั่วคราว
3. สร้างน้ำอสุจิ 4. สร้างสารหล่อเลี้ยงตัวอสุจิ
46. ขณะที่ไม่มีน้ำปัสสาวะอยู่ในกระเพาะปัสสาวะอยู่เลย จะมีปริมาตรเท่าไร
1. ไม่เกิน 25 ลบ. ซม. 2. ไม่เกิน 50 ลบ. ซม.
3. ไม่เกิน 75 ลบ. ซม. 4. ไม่เกิน 500 ลบ. ซม.
47. กระเพาะปัสสาวะสามารถเก็บน้ำปัสสาวะได้เต็มที่เท่าไร
1. 300 ลบ. ซม. 2. 400 ลบ. ซม.
3. 500 ลบ. ซม. 4. 600 ลบ. ซม.
48. ข้อใดไม่ใช่อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับระบบขับถ่ายปัสสาวะ
1. หลอดไต 2. หลอดปัสสาวะ
3. ต่อมขับเมือก 4. ไต
49. ข้อใดกล่าวได้ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับไต (Kidneys)
1. ไตมี 2 ข้าง มีรูปร่างเหมือนเมล็ดถั่ว สีน้ำตาลแกมแดง
2. ไตอยู่ระหว่างกระดูกสันหลังช่วงอกที่ 12 และระดับกระดูกสันหลังช่วงเอวที่ 3
3. มองด้านหน้า ไตจะอยู่ระหว่างกระดูกอ่อนของซี่โครงที่ 6 กับระดับ 2.5 ซม. เหนือสะดือ
4. กระดูกซี่โครงที่ 12 จะทอดผ่านไตทำมุม 45 องศา
50. ของเสียที่เกิดจากเซลล์ในร่างกายที่ร่างกายต้องขับออกคืออะไร
1. ก๊าซ CO2 2. ยูเรีย 3. กรดยูริก 4. ถูกทุกข้อ
51.ผู้ป่วยโรคไตอักเสบ มักตรวจพบสารอะไรในปัสสาวะ
1. เม็ดเลือด 2. ยูริคแอซิด
3. โปรตีน 4. ถูกทุกข้อ
52. สารอินทรีย์ในข้อใดที่สามารถตรวจพบในปัสสาวะได้
1. แอมโมเนีย
2. ครีอาตินีน (Creatinine)
3. กรดยูริก
4. ถูกทุกข้อ
53. สารใดที่ถ้าตรวจพบในปัสสาวะอาจถือว่าไตมีความผิดปกติ
1. บิลิรูบิน (Bilirubin)
2. Ketone Body (ดีโตน บอดี)
3. เม็ดเลือด
4. ถูกทุกข้อ
54. ในสภาวะปกติคนเราจะปัสสาวะไม่เกินวันละกี่ครั้ง
1. 6 ครั้ง 2. 10 ครั้ง
3. 12 ครั้ง 4. 15 ครั้ง 55. ข้อใดเป็นกล้ามเนื้อลิ้น
1. Genioglosus( เจนิโอกลอสซัส) 2. styloglossus( สไตโลกลอสซัส)
3. Hypoglosus (ไฮโปกลอสซัส) 4. ถูกทุกข้อ
56. จุดเกาะต้นของกล้ามเนื้อ สเตอโนไคโดมาสตอยด์ (Sternoclidomadtoid) คืออะไร
1. บนกระดูกอก และไหปลาร้า 2. บนกระดูกซี่โครงคู่ที่ 1
3. บนกระดูกมาสตอยด์ 4. บนกระดูกขากรรไกร
57. กล้ามเนื้อ Rhomboidius major (รอมบอยเดียส เมเจอร์) ทำหน้าที่อะไร
1. ช่วยหมุนแขนเข้าใน (Internal Rotation)
2. ช่วยหมุน หมุนแขนออกด้านนอก (Extraction)
3. ช่วยกระดูกสะบักเข้าหาลำตัว (Retraction)
4. ช่วยดึงกระดูกสะบักออกจากแนวลำตัว (Protraction)
58. กล้ามเนื้อใดที่ช่วยในการหายใจ
1. ไดอะแฟรม (Diaphragm)
2. เอกเทอร์นอล อินเตอร์คลอสตอล (External Intercostals)
3. อินเทอร์นอล อินเตอร์คอสตอล (Internal Intercostal)
4. ถูกทุกข้อ
59. บริเวณที่เรียกว่า “จุดบอด (Blind Spot) ไบลด์สปอท” เป็นบริเวณที่มีจุดแตกต่างจากบริเวณอื่นของ Retina อย่างไร
1. มีแต่ เซลล์รูปโคนมาก 2. มีแต่เซลล์รูปทรงกระบอกมาก
3. ไม่มีทั้งเซลล์รูปแท่ง และเซลล์รูปทรงกระบอก 4. ไม่มีข้อใดถูก
60. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของไต
1. ควบคุมความสมดุลของฮอร์โมนทั่วร่างกาย
2. ควบคุมความสมดุลของน้ำและเกลือแร่
3. ควบคุมความเป็นกรด-ด่าง
4. ทำลายสารพิษ (Detoxification)
61. หน่วยไตที่เล็กที่สุด ที่ทำหน้าที่กรอง และสร้างน้ำปัสสาวะ เรียกว่าอะไร
1. ท่อไต 2. เนฟรอน (Nephrons)
3. กรวยไต 4. ไม่มีข้อใดถูก
62. เลือดเข้าสู่ไต นาทีละเท่าไร
1. 1,200 มล. 2. 25% ของเลือดที่ออกจากหัวใจ
3. 1,000 มล. 4. ถูกทั้ง 1,2
63. ออแกแนลใดในเซลล์ที่ทำหน้าที่ ช่วยในการแบ่งเซลล์
1. ไรโบโซม 2. เซนโตรโซม
3. ไลโซโซม 4. ไมโตรคอนเดรีย
64. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับกระบวนการสร้างน้ำปัสสาวะ
1. กระบวนการกรองที่ Glomerulus เรียกว่า Glomerula filtration
2. กระบวนการดูดซึมกลับที่ท่อไต เรียกว่า Tubular filtration
3. กระบวนการขับออกที่ท่อไต เรียกว่า Tubular Secretion
4. ไม่มีข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
65. สารอะไรที่ไม่ควรผ่านการกรองที่ Glomerulus ในภาวะที่ไตเป็นปกติ
1. ยูเรีย 2. กรดยูริก 3. น้ำ 4. โปรตีน
66. หลอดลมจัดเป็นกระดูกชนิดใด
1. กระดูกอ่อน 2. กระดูกแข็ง 3. ถูกทั้ง 1,2 4. ผิดทั้ง 1,2
67. เลือดกำเดาที่ออกทางจมูกมีวิธีแก้ไขเบื้องต้นอย่างไร
1. ใช้น้ำอุ่นประคบบริเวณจมูก 2. ใช้กดจุดนวดบริเวณดั้งจมูก
3. ใช้มือบีบให้ติดกันแน่นสักครู่ 4. ไม่มีข้อใดถูก
68. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของจมูก
1. ทำให้เกิดเสียง 2. ป้องกันเชื้อโรค 3. รับเสียง 4. รับกลิ่น
69. หลอดคอ (Pharynx) แบ่งเป็นกี่ส่วน
1. 2 ส่วน 2. 3 ส่วน 3. 4 ส่วน 4. 5 ส่วน
70. ช่องหลอดคอบริเวณตั้งแต่จมูกถึงเพดานอ่อน เรียกว่าอะไร
1. Nasopharynx (นาโซฟาริงส์) 2. Oropharynx (ออโรฟาริงส์)
3. Larynx (ลาริงส์) 4. Baropharynx (บาโรฟาริงส์)
71. อะไรเป็นอวัยวะที่ช่วยไม่ให้อาหารที่กลืนเข้าไปขึ้นไปในช่องจมูก
1. ทอลซิล 2. เพดานแข็ง 3. ลิ้นไก่ 4. กล่องเสียง
72. ทางเดินอาหาร และอากาศจะแยกกันที่บริเวณใด
1. นาโซฟาริงส์ (Nasopharynx) 2. ออโรฟาริงส์ (Oropharynx)
3. ลาริงส์ (Larynx) 4. บาโรฟาริงส์ (Baropharynx)
73. โครโมโซมเพศ ในเซลล์ร่างกายมนุษย์มีกี่คู่
1. 1 คู่ 2. 2 คู่ 3. 3 คู่ 4. 4 คู่
74. กล่องเสียงประกอบด้วยกระดูกอะไรบ้าง
1. ไทรอยด์ คาร์ทิเลจ (Thyroid Cartilage) 2. ไคคอยด์ คาร์ทิเลจ (Ciroid Cartilage)
3. ถูกทั้ง 1,2 4. ผิดทั้ง 1,2
75. การนอนกรน เกิดจากอะไร
1. ลิ้นไก่ตกปิดทางเดินหายใจ 2. ลิ้นตกปิดทางเดินหายใจ
3. ถูกทั้ง 1,2 4. ผิดทั้ง 1,2
76. . ออแกเนล (Organells) ใด ที่อยู่ในซัยโตพลาสม ที่ทำหน้าที่สร้างพลังงานให้แก่เซลล์
1. ไมโตครอนเดรีย (Mytochondria) 2. ไรโบโซม (Ribosome)
3. กอลไล แอปพาราตัส (Golqi apparatus) 4. นิวเคลียส (Nucleus)
77. หลอดลมแยกข้างใด มีมุมที่ลาดเอียงมากกว่าอีกด้านหนึ่ง
1. ด้านขวา 2. ด้านซ้าย 3. ด้านหน้า 4. ด้านหลัง
78. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับปอด
1. ปอดข้างซ้ายมี 2 กลีบ 2. ปอดข้างขวามี 3 กลีบ
3. ขั้วปอดเรียกว่า ไฮเลี่ยม (Hilium) 4. ไม่มีข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
79. เม็ดเลือดขาวในภาวะปกติมีปริมาณเท่าไร
1. 1,000 – 3,000 ลม.มม. 2. 3,000 – 5,000 ลม.มม.
3. 5,000 -10,000 ลม.มม. 4. ถูกทั้งข้อ 1,2
80. ผนังของระบบทางเดินอาหารประกอบด้วยเยื่อกี่ชั้น
1. 2 ชั้น 2. 3 ชั้น 3. 4 ชั้น 4. 5 ชั้น
81. ชั้นในสุดของระบบทางเดินอาหาร เรียกว่าชั้น Mucous Coat (มิวคัสโคท) ในชั้นนี้มีหน้าที่อย่างไร
1. มีต่อมต่างๆ ช่วยขับน้ำย่อยสำหรับย่อยอาหาร 2. บีบตัวทำให้อาหารเคลื่อนตัวไปได้
3. เป็นที่อยู่ของหลอดเลือด และน้ำเหลือง 4. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
82. ชั้นกล้ามเนื้อ (Muscular Coat = มัสคิวล่า โคท) ที่อยู่ในทางเดินอาหารส่วนใหญ่เป็นกล้ามเนื้อ
ชนิดใด
1. กล้ามเนื้อลาย 2. กล้ามเนื้อเรียบ 3. กล้ามเนื้อหัวใจ 4. ถูกทุกข้อ
83. อัตราส่วนของปริมาตรเม็ดเลือดแดงต่อปริมาตรเลือดทั้งหมด เรียกว่าอะไร
1. ฮีโมโกลบิน 2. เมลาโทนิน 3. ฮีมาโตคริต (Hct) 4. ไม่มีข้อใดถูก
84. เส้นประสาทที่ควบคุมการทำงานของระบบทางเดินอาหาร คือระบบใด
1. ระบบ Somatic (โซมาติก) 2. ระบบ Sensory (เซนเซอรี่)
3. ระบบอัตโนมัติ 4. ไม่มีข้อใดถูก
85. เส้นประสาทสมองที่มาควบคุมการเคลื่อนไหวของลิ้นคืออะไร
1. คู่ที่ 10 (Vagus Nerve) 2. คู่ที่ 11 (Accessory Nerve)
3. คู่ที่ 12 (Hypoglossal Nerve) 4. ไม่มีข้อใดถูก
86. ฮีโมโกลบิน มีหน้าที่อะไร
1. ช่วยขนส่ง CO2 (ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์) จากปอด
2. ช่วยขนส่ง O2 (ออกซิเจน) ออกจากปอด
3. ช่วยขนส่ง N2 (ไนโตรเจน) ออกจากปอด 4. ไม่มีข้อใดถูก
87. เซลล์ในลูกอัณฑะสร้างฮอร์โมนอะไร
1. เอสโตเจน (Estrogen) 2. โปรเจสเตอโรน (Progesterone)
3. เทสโทสเตอโรน (Testosterone) 4. ไม่มีข้อใดถูก
88. มนุษย์มีเลือดเป็นองค์ประกอบของร่างกายเท่าไร
1. 5-6 ลิตร 2. 6-7 ลิตร 3. 4-8 ลิตร 4. ไม่มีข้อใดถูก
89. ต่อมน้ำลายมีกี่ต่อม
1. 3 ต่อม 2. 4 ต่อม 3. 5 ต่อม 4. 6 ต่อม
90. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ
1. สร้างสารเคมีที่เรียกว่า “ฮอร์โมน
2. เมื่อร่างกายใช้ประโยชน์จากฮอร์โมน แล้วร่างกายก็จะเก็บสะสมไว้
3. ฮอร์โมนช่วยควบคุมปฏิกิริยาภายในเซลล์
4. ฮอร์โมนจะซึมเข้าสู่กระแสเลือด และไปออกฤทธิ์ที่อวัยวะเป้าหมาย
91. ในเพศชาย อาศัยฮอร์โมน Oxytocin (ออกซิโตซิน) ทำอะไร
1. ช่วยในการสร้างตัวอสุจิ (Sperm) 2. ช่วยให้มีความรู้สึกทางเพศมากขึ้น
3. ช่วยให้หลั่งน้ำอสุจิ 4. ช่วยให้อัณฑะผลิตน้ำอสุจิ
92. ข้อใดกล่าวถึงต่อมไทรอยด์ได้ไม่ถูกต้อง
1. เป็นต่อมไร้ท่อที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย 2. มีน้ำหนักประมาณ 25 กรัม
3. ตั้งอยู่ด้านหน้าของหลอดอาหาร 4. สร้างฮอร์โมนไทรอกซิน
93. ฮอร์โมนไทรอกซิน ทำหน้าที่อย่างไร
1. ควบคุมอัตราการ เมตาบอลิซึม และควบคุมฮอร์โมนเพศ
2. ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของร่างกาย
3. ทำหน้าที่เปลี่ยนกลูโคสให้เป็นกรดอะมิโน 4. ไม่มีข้อใดถูก
94. ข้อใดกล่าวถึงเหตุผลของตำแหน่งที่ควรระวังในการนวดได้ถูกต้อง
1. บริเวณทัดดอกไม้ ต้องระวังเพราะเป็นบริเวณที่มีเส้นประสาทมาก
2. บริเวณกะหม่อมของเด็กที่อายุต่ำกว่า 2 ขวบ ยังไม่ปิด ทำให้อันตรายต่อสมอง
3. บริเวณใบหน้าด้านหน้าหูต้องระวังเพราะมีกระดูกเปราะบาง
4. ไม่มีข้อใดกล่าวถูกต้อง
95. บริเวณคอโดยเฉพาะด้านหน้าในการนวดต้องระวังอวัยวะใด
1. ต่อมน้ำลาย 2. ต่อมน้ำเหลือง
3. หลอดเลือดแดง 4. ถูกทุกข้อ
96. การนวดหรือกดบริเวณต่อมน้ำเหลืองอาจจะเกิดปัญหาอะไร
1. ชาหรืออ่อนแรงที่แขน 2. เลือดออกไม่หยุด
3. บวมหรืออักเสบ 4. ถูกทุกข้อ
97. การห้าม ดัด ดึงคอ เนื่องจากอาจเป็นอันตรายด้วยเหตุใด
1. กระดูกคอเคลื่อนทับเส้นประสาท 2. เอ็นยึดกระดูกคอฉีกขาด
3. เส้นเลือดบริเวณคอฉีกขาด 4. ถูกทุกข้อ
98. ในปัจจุบันมะเร็งชนิดใดที่เป็นสาเหตุทำให้คนอายุสูงสุด
1. มะเร็งปากมดลูก 2. มะเร็งเต้านม
3. มะเร็งตับ และถุงน้ำดี 4. มะเร็งลำไส้ใหญ่
99. บริเวณก้านสมอง (Brain stem) หากได้รับอันตรายจะเกิดปัญหาอย่างไร
1. หัวใจหยุดเต้น 2. หยุดการหายใจ
3. เดินเซ 4. ถูกเฉพาะ 1,2
100. การยืดกล้ามเนื้อมัดใหญ่ แบบหยุดค้างไว้ ควรยืดค้างไว้นานเท่าไร
1. 5-10 วินาที 2. 10-30 วินาที 3. 30-40 วินาที 4. 40-60 วินาที
แนวข้อสอบ การนวดไทย ชุดที่ ๒
โรงเรียน สิริภัจจ์ การแพทย์แผนไทย
อ.ประสิทธิ์ คงทรัพย์
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียวเท่านั้น
1. การประกอบโรคศิลปะ มีข้อห้ามและข้อยกเว้น สำหรับข้อห้ามในการประกอบโรคศิลปะ คือข้อใด
1.ห้ามมิให้ผู้ใดทำการประกอบโรคศิลปะ หรือกระทำการใดให้ผู้อื่นเข้าใจว่า ตนเป็นผู้มิสิทธิประกอบโรคศิลปะโดยมิได้ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต
2.ห้ามมิให้ผู้ใดทำการประกอบโรคศิลปะ หรือประกอบวิชาชีพโดยไม่ได้ขึ้นทะเบียนจากกระทรวงสาธารณสุข
3.ห้ามมิให้ผู้ใดทำการประกอบโรคศิลปะ หรือพร้อมที่จะประกอบโรคศิลปะ โดยมิได้ขึ้นทะเบียนจากคณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะ
4.ห้ามมิให้ผู้ใดทำการประกอบโรคศิลปะ หรือประกอบวิชาชีพ โดยมิได้ขึ้นทะเบียนและรับอนุญาตจากคณะกรรมการวิชาชีพ
2. นายแดงได้ขึ้นทะเบียน และรับใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะ ต้องโทษจำคุก ถามว่านายแดงจะขาดคุณสมบัติหรือไม่
1.ขาด เพราะทำให้เสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ
2.ขาด เพราะเป็นคดีที่ทำให้เสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ
3.ไม่ขาด เพราะคณะกรรมการยังไม่วินิจฉัย
4.ไม่ขาด เพราะคดียังไม่ถึงที่สุด และคดีที่คณะกรรมการวิชาชีพยังไม่ได้พิจารณาออกความเห็น
3. ผู้เสียหายหรือกรรมการวิชาชีพ ได้กล่าวหาหรือกล่าวโทษผู้ประกอบโรคศิลปะที่ผิดข้อจำกัดเงื่อนไขหรือมารยาทแห่งวิชาชีพ โดยยื่นคำกล่าวหาหรือกล่าวโทษไว้ ต่อมา มีการถอนคำกล่าวหาหรือกล่าวโทษผู้ประกอบโรคศิลปะจะถูกระงับการดำเนินการตามกฎหมายหรือไม่
1. ถูกระงับข้อกล่าวหาหรือกล่าวโทษทั้งหมด 2. ถูกระงับเฉพาะข้อกล่าวโทษเท่านั้น
3. ถูกระงับเฉพาะข้อกล่าวหาเท่านั้น 4. ไม่ถูกระงับทั้งข้อกล่าวหาและกล่าวโทษ
4. จรรยาบรรณหรือมารยาทแห่งวิชาชีพของผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการ แพทย์แผนไทย ตาม พ.ร.บ.คการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 ผู้ประกอบโรคศิลปะจะต้องประพฤติหรือกระทำการตาม ข้อใด
1. ออกใบรับรองอันเป็นเท็จ หรือให้ความเห็นที่สุจริตเกี่ยวกับการปรุงยาหรือสรรพคุณยา
2. ปฏิเสธช่วยเหลือคนไข้ในระหว่างอันตราย เมื่อได้รับคำขอร้อง และตนก็อยู่ในฐานะที่จะช่วยได้
3. เปิดเผยความลับของคนไข้ เว้นแต่ได้รับความยินยอมจากคนไข้ หรือปฏิบัติการตามกฎหมายหรือหน้าที่ราชการ
4.ไม่ชักชวนคนไข้มารับการรักษากับตน หรือไม่ลงลายมือชื่อรองเวชภัณฑ์อันเป็นสิ่งหลอกลวงหรือตำรับลับ
5. ประกอบโรคศิลปะซึ่งถูกเพิกถอนใบอนุญาตมีสิทธิ์ที่จะขอรับใบอนุญาตอีก เมื่อพ้นกี่ปี และมีสิทธิ์อย่างไร
1. เมื่อ พ้น 2 ปี และมีสิทธิขออุทธรณ์จากคณะกรรมการวิชาชีพ
2. เมื่อ พ้น 2 ปีและ มีสิทธิขอรับใบอนุญาตจากคณะกรรมการวิชาชีพ
3. เมื่อ พ้น 3 ปี และมีสิทธิอุทธรณ์จากคณะกรรมการวิชาชีพ
4. เมื่อ พ้น 3 ปีและ มีสิทธิขออุทธรณ์กับคณะกรรมการ เมื่อคณะกรรมการปฏิเสธการให้ใบอนุญาต
6. ผู้ประกอบโรคศิลปะ ถูกเพิกถอนใบอนุญาต เมื่อยื่นขอใบอนุญาตคืนถึง 2 ครั้งหรือพ้น 3 ปี แล้วถูกปฏิเสธจากคณะกรรมการวิชาชีพ จะมีสิทธิอุทธรณ์ต่อใครภายในเวลาเท่าไร
1.อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการ ภายใน 30 วัน
2.อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวิชาชีพ ภายใน 15 วัน
3.อุทธรณ์ต่อรัฐมนตรี ภายใน 30 วัน
4.อุทธรณ์ต่อปลัดกระทรวงสาธารณสุข ภายใน 15 วัน
7. ผู้กระทำด้วยการใด ๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจว่า ตนเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ โดยมิได้ขึ้นทะเบียนและรับอนุญาตก็ดี ผู้ประกอบโรคศิลปะซึ่งอยู่ในระหว่างถูกสั่งพักหรือถูกเพิกถอนใบอนุญาต ทำการประกอบโรคศิลปะก็ดี ผู้ประกอบโรคศิลปะ ประกอบโรคศิลปะในสาขาซึ่งตนไม่ได้ขึ้นทะเบียนและรับอนุญาตก็ดี ในกรณีดังกล่าวมา จะต้องโทษตามข้อใด
1.ระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 1 หมื่น หรือทั้งจำทั้งปรับ
2.ระวางโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน 2หมื่น หรือทั้งจำทั้งปรับ
3.ระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 3 หมื่น หรือทั้งจำทั้งปรับ
4.ถูกทุกข้อ
8. นาย ก. ประกอบโรคศิลปะ โดยไม่ได้ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต ชักชวนให้นาย ข. ซึ่งได้ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตสาขาการแพทย์แผนไทย ประเภทเภสัชกรรมไทย มาประกอบโรคศิลปะร่วมกับตนทั้ง 2 คนร่วมกันโฆษณายาของตนว่า รักษาหาย ถ้าไม่หายคืนเงินและ ชักชวนหาคนไข้มารักษากับตนก็ดี ทั้งสองคนมีความผิดตามข้อใด
1. นาย ก. ผิดฐานประกอบโรคศิลปะโดยมิได้ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต ส่วนนายข. ผิด ฐานโฆษณาและผิดพระราชบัญญัติฐานประกอบโรคศิลปะในสาขาที่ตนไม่ได้ขึ้นทะเบียนและรับอนุญาต
2. นาย ก. ไม่ผิดอะไร เพราะมีผู้ประกอบโรคศิลปะรับรอง ส่วนนาย ข. ก็ผิดมารยาทฐานชักชวนคนไข้
3. ผิดทั้งนาย ก. และนาย ข. โดยนาย ก. จะได้รับโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 3 หมื่น หรือทั้งจำทั้งปรับ ส่วน นาย ข. จะถูกสั่งพักหรือเพิกถอนใบอนุญาตเท่านั้น
4. ข้อ 1. และ 3. ถูก
9. ก่อนประกาศใช้ พ.ร.บ.ยา พ.ศ. ๒๕๑๐ ได้มีการยกเลิกกฎหมายยากี่ฉบับ
1. ๓ ฉบับ 2. ๔ ฉบับ 3. ๕ ฉบับ 4. ๖ ฉบับ
10. จำนวนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการยามีจำนวนเท่าไร
1. ไม่น้อยกว่าห้าคนแต่ไม่เกินเก้าคน 2. ไม่เกินห้าคน
3. ไม่น้อยกว่าสามคนแต่ไม่เกินห้าคน 4. ไม่เกินเก้าคน
11. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับคณะกรรมการยา
1. ในการประชุมคณะกรรมการยาต้องมีกรรมการเข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
2. ในการประชุมคณะกรรมการยาต้องมีกรรมการเข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งในสาม
3. ในการประชุมคณะกรรมการยาต้องมีกรรมการเข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าสองในสาม
4. ในการประชุมคณะกรรมการยาต้องมีกรรมการเข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าสามในสี่
12. นายดำ ดูดี เคยเปิดร้านขายแผนยาแผนโบราณชื่อว่า “ ร้านยาดี โอสถ” และถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตร้านขายยาเป็นเวลา ๖ เดือน เริ่มมีผลบังคับคำสั่งเมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ นายชอบ ฉับวัย ซึ่งมีที่อยู่ในเขตเดียวกับนายดำ จะขออนุญาตเปิดร้านขายแผนโบราณและใช้ชื่อ “ ร้านยาดี โอสถ”ได้หรือไม่เพราะเหตุใด
1. ไม่ได้ เพราะ ชื่อร้านขายยาซ้ำกับชื่อร้านเดิมที่ถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาต ยังไม่ครบหนึ่งปี
2. ไม่ได้ เพราะ นายดำ ดูดีไม่ยอมให้ใช้ชื่อเดิมของร้านตน และสงวนชื่อไว้เพื่อรอเปิดร้านอีกครั้ง
3. ได้ เพราะ ไม่มีกฎหมายกำหนดห้ามไว้
4. ได้ เพราะ นายดำยอมให้ใช้ชื่อเดิมของร้านตน
13. นายสมศักดิ์ ประทานพร เป็นเภสัชกรแผนไทยและเป็นผู้ปฏิบัติการ ของร้านขายยาแผนโบราณแห่งหนึ่ง นายสมศักด์ ต้องการเป็นผู้รับอนุญาตขายยาแผนโบราณของตนเอง นายสมศักดิ์ จะทำได้หรือไม่เพราะอะไร
1. ได้ เพราะกฎหมายไม่ได้ห้ามมิให้เป็นผู้รับอนุญาตขายยาเกินสองแห่ง
2. ได้ เพราะ กฎหมายไม่ได้ห้ามมิให้เป็นผู้ปฏิบัติการขายยาเกินสองแห่ง
3. ไม่ได้ เพราะ กฎหมายห้ามมิให้เป็นผู้รับอนุญาตขายยาเกินสองแห่ง
4. ไม่ได้ เพราะ กฎหมายห้ามมิให้เป็นผู้ปฏิบัติการขายยาเกินสองแห่ง
14. สถานที่ผลิตยาแผนโบราณแห่งหนึ่ง ผลิตยาแผนโบราณ ๕๒ ตำรับ สถานที่ผลิตยาแห่งนี้จะต้องมีผู้ปฏิบัติการจำนานเท่าไรจึงจะถูกต้องตามกฎหมายกำหนด
1. ๑ คน 2. ๒ คน 3. ๓ คน 4. ๔ คน
15. สิทธิของผู้ป่วยที่แสดงในสถานพยาบาล เป็นอำนาจประกาศกำหนดโดยผู้ใด
1. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข 2. ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
3. กรรมการสถานพยาบาล 4. ผู้รับอนุญาตสถานพยาบาล
16. ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในกรรมการสถานพยาบาลพ้นจากตำแหน่งโดยที่รัฐมนตรีให้ออกซึ่งมีวาระที่เหลืออยู่อีก 70 วัน รัฐมนตรีจะใช้อำนาจอย่างไร
1.รัฐมนตรีไม่แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิคนใหม่ให้เป็นกรรมการแทน
2.รัฐมนตรีแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิแทนภายใน 30 วัน
3.รัฐมนตรีต้องแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิแทนภายใน 60 วัน
4.รัฐมนตรีต้องแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิแทนภายใน 7 วัน
18. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับกรรมการสถานพยาบาล
1. อธิบดีกรมการแพทย์,อธิบดีกรมควบคุมโรคติดต่อ,อธิบดีกรมสุขภาพจิต,อธิบดีกรมสนับสนุนบริการ เป็นกรรมโดยตำแหน่ง
2. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ มาจากสภาวิชาชีพๆละ ๑ คน
3. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ที่คณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะแนะนำ มีจำนวน ๓ คน
4. รัฐมนตรีแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิตามความเห็นของรัฐมนตรีเองมีจำนวน ไม่เกิน ๕ คน
19. ข้อใดไม่ใช่อำนาจและหน้าที่ของคณะกรรมการสถานพยาบาล
1. ให้คำแนะนำ ผู้อนุญาตในการเปิด-ปิด สถานพยาบาล
2. ออกกฎกระทรวงหรือประกาศที่เกี่ยวข้องกับพ.ร.บ. สถานพยาบาล
3. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพการบริการสถานพยาบาล
4. ทุกข้อเป็นอำนาจและหน้าที่ตามกฎหมายกำหนด
20. นายสำราญ ชอบเพชร ถูกศาลพิพากษาว่าเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ นายสำราญ ชอบเพชร จะขออนุญาตเปิดสถานพยาบาลประเภทที่ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
1.ได้ เพราะกฎหมายไม่ได้ห้ามไม่ให้ผู้เสมือนไร้ความสามารถ ขออนุญาตเปิดสถานพยาบาล
2. ได้ เพราะ นายสำราญ ชอบเพชร มีฐานะร่ำรวยที่จะดำเนินกิจการสถานพยาบาลได้
3. ไม่ได้ เพราะ กฎหมายห้ามไม่ให้ผู้เสมือนไร้ความสามารถ ขออนุญาตเปิดสถานพยาบาล
4. ไม่ได้ เพราะ นายสำราญ ชอบเพชร เคยขับรถชนคนตายด้วยความประมาท
21. ข้อใดเป็นความหมายของคำว่า “การเคลื่อนไหวร่างกาย”
1. การเคลื่อนไหวร่างกายที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจ
2. การเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ที่เกิดจากการทำงาน ของกล้ามเนื้อลาย ซึ่งทำให้พลังงานเพิ่มขึ้น
จากสภาวะพัก
3. การเคลื่อนที่ของส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดยไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงใดๆ ของร่างกาย
4. ถูกทุกข้อ
22. ข้อใดเป็นการตอบสนองทางสรีระวิทยาต่อการเคลื่อนไหวร่างกาย
1. การเต้นหัวใจเร็วขึ้น (HR) 2. การหายใจเร็วขึ้น (RR)
3. กรดแลคติกมากขึ้น 4. ถูกทุกข้อ
23. การที่ร่างกายมีกรดแลคติกมากขึ้น จะมีผลต่อร่างกายอย่างไร
1. สุขสบายดี 2. เมื่อยล้า
3. เจ็บปวดมากตามร่างกาย 4. ไม่มีข้อใดถูก
24. การออกกำลังกายเป็นประจำ 1-3 ครั้ง/สัปดาห์ จะมีผลในระยะยาวอย่างไร
1. การหายใจเร็วขึ้น 2. การเต้นของหัวใจเร็วขึ้น
3. หัวใจเต้นช้าลง 4. การหายใจช้าลง
25. ข้อใดเป็นการตอบสนองของกล้ามเนื้อ และกระดูกต่อการออกกำลังกาย หรือฝึกระยะยาว
1. กล้ามเนื้อเพิ่มขนาดพื้นที่หน้าตัด 2. ใยกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้น
3. เส้นเลือดฝอยเพิ่มมากขึ้น 4. ถูกทุกข้อ
26. การออกกำลังกายระดับหนัก (Vigeous Exercise) อาจเกิดผลเสียอย่างไร
1. ความดันโลหิตสูง 2. น้ำตาลในเลือดสูง
3. เกิดโรคหัวใจเฉียบพลัน 4. ถูกทุกข้อ
27. อัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด (HRmax) คำนวณได้จากสูตรอะไร
1. 200 – อายุ 2. 220 – อายุ 3. 240 – อายุ 4. 260 – อายุ
28.การมองว่าสิ่งทั้งหลายในโลกมีลักษณะเป็นคู่ ตรงกันข้าม พึ่งพาซึ่งกันและกัน และแปรเปลี่ยนไป
ตามคู่ตรงข้ามได้ การเกาะเกี่ยวและต่อสู้กันของ
1. ทฤษฎีเต๋า 2. ทฤษฎีขงจื้อ
3. ทฤษฎีหยิน-หยาง 4. ทฤษฎีการแพทย์แผนไทย
29. อายุรเวท มีความหมายตรงตามข้อใด
1. วิชาเกี่ยวกับอายุ 2. ศาสตร์แห่งชีวิต 3. ชีวิตที่ยาวนาน 4. ถูกทุกข้อ
30. โยคะ (Yoga) ได้รับการบันทึกจากปราชญ์ของฮินดู ชื่ออะไร
1. ปตัญชลี 2. ปโตชลี 3. ปตชลี 4. ถูกทุกข้อ
31. คัมภีร์เกี่ยวกับโยคะใด ที่ได้รับความนิยมมากที่สุด
1. โยคสูตร 2. วรโยคสาร 3. หฐโยคะ 4. ไม่มีข้อถูก
32. ข้อใดคือประโยชน์ของฤาษีดัดตน
1. เพิ่มการผ่อนคลายของกล้ามเนื้อที่ยึดตึง 2. ลดความตึงเครียด บรรเทาอาการเมื่อยล้า
3. เพิ่มความยืดหยุ่นให้กล้ามเนื้อ และข้อต่อ 4. ถูกทุกข้อ
33.ข้อใดกล่าวถึงเหตุผลของตำแหน่งที่ควรระวังในการนวดได้ถูกต้อง
1. บริเวณทัดดอกไม้ ต้องระวังเพราะเป็นบริเวณที่มีเส้นประสาทมาก
2. บริเวณกะหม่อมของเด็กที่อายุต่ำกว่า 2 ขวบ ยังไม่ปิด ทำให้อันตรายต่อสมอง
3. บริเวณใบหน้าด้านหน้าหูต้องระวังเพราะมีกระดูกเปราะบาง
4. ไม่มีข้อใดกล่าวถูกต้อง
34. การห้าม ดัด ดึงคอ เนื่องจากอาจเป็นอันตรายด้วยเหตุผลใด
1. กระดูกคอเคลื่อนทับเส้นประสาท 2. เอ็นยึดกระดูกคอฉีกขาด
3. เส้นเลือดบริเวณคอฉีกขาด 4. ถูกทุกข้อ
35. ตำแหน่งใดที่การนวดอาจทำอันตรายกับร่างแหประสาทแขน (Brachial Plexus)
1. ใต้รักแร้ 2. ร่องไหปลาร้า 3. คอด้านหน้า 4. คอด้านข้าง
36. บริเวณปมกระดูกข้อศอกด้านใน การนวด กด อาจทำอันตรายให้กับอวัยวะอะไร
1. เส้นประสาทอัลน่า (Ulna Nerve) 2. เส้นประสาทมีเดียน (Median Nerve)
3. เส้นประสารทเรเดียล (Radial Nerve) 4. ถูกทุกข้อ
37. โรค (Carpal tunnel syndrome) คาร์ปอล ทันเนล ซินโดรม หรือโรคลมปลายปัตฆาตข้อมือ เกิดจากสาเหตุใด
1. เส้นประสาทเรเดียลถูกกดทับ 2. เส้นเลือดแดงอัลน่าถูกกดทับ
3. เส้นประสาทมีเดียนถูกกดทับ 4. ไม่มีข้อใดกล่าวถูก
38. การเปิดประตูลมท้อง ควรทำเมื่อใด
1. หลังกินอาหาร 1 ซม. 2. หลังกินอาหาร 30 นาที
3. หลังกินอาหาร 2-3 ชั่วโมง 4. ไม่มีข้อใดกล่าวถูกต้อง
39. การกดนวดบริเวณสลักเพชรอาจทำอันตรายให้กับอวัยวะใด
1. กระดูกไอเลียม 2. เส้นประสาทไซอะติก (Sciatic Nerve)
3. เส้นเลือดแดง Femoral 4. เส้นเลือดดำ Femoral
40. ถ้าผู้ป่วยที่จะมานวดรักษา ลักษณะและอาการ “ผอมแห้งและอ่อนเพลีย” ท่านจะตั้งสมมติฐาน
อย่างไร
1. ผู้ป่วยอาจมีไข้ โรคผิวหนัง หรือโรคภูมิแพ้
2. ผู้ป่วยอาจเป็นโรคติดต่อ มีไข้ หรือเป็นโรคเรื้อรัง
3. ผู้ป่วยมีโรคเรื้อรัง หรือขาดสารอาหาร
4. ถูกทุกข้อ
41.ถ้าสังเกตเห็นรอยจ้ำเลือด ตามตัวผู้ป่วยที่จะมานวด ท่านอาจคิดถึงสมมติฐานอย่างไร
1. ผู้ป่วยอาจมีภาวะความผิดปกติของสมองน้อย 2. ผู้ป่วยอาจเป็นโรคผิวหนัง
3. ผู้ป่วยอาจได้รับบาดเจ็บ โรคเลือดออกง่าย ภูมิแพ้ 4. ถูกทุกข้อ
42. การตรวจร่างกาย และการซักประวัติที่ดีช่วยให้สามารถวินิจฉัยโรคแม่นยำอย่างไร
1. 50% 2. 70% 3. 80% 4. 100%
43. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับระดับอาการของผู้ป่วย
1. ระยะเฉียบพลัน คือระยะมีอาการประมาณ 2-3 วัน
2. ระยะเรื้อรัง คือระยะที่มีอาการมานานกว่า 10 เดือน
3. ระยะเรื้อรัง คือระยะที่มีอาการมานานกว่า 6 เดือน
4. ไม่มีข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
44. ข้อใดคือความหมายของคำว่า “อาการสำคัญ”
1. นายแดงปวดหลัง เนื่องจากตกรถมอเตอร์ไซด์ 2. นายดำปวดเข่ามาประมาณ 3 วัน
3. นายขาวปวดไหล่ 4. ถูกทุกข้อ
45. การวัดอุณหภูมิ ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. การวัดอุณหภูมิทางปาก ให้อมไว้ใต้ลิ้น แล้วหุบปาก นาน 1 นาที
2. การวัดอุณหภูมิทางรักแร้ ให้สอดปรอทไว้ใต้รักแร้ นาน 3 นาที
3. อุณหภูมิที่วัดทางปากจะสูงกว่าทางรักแร้ประมาณ 1 องศาฟาเรนไฮต์
4. การวัดอุณหภูมิทางทวารหนัก สอดเข้าไปนาน 5 นาที
46. การนวดบริเวณด้านหน้าแข้งแรง อาจทำอันตรายให้เกิดอะไร
1. ทำให้กระดกข้อเท้าไม่ขึ้น 2. ทำเส้นเลือดฝอยแตก
3. ทำให้ถุงน้ำอักเสบ 4. ทำให้ต่อมน้ำเหลืองอักเสบ
47. อาการปวดศีรษะแบบใดที่ไม่ควรนวด
1. ปวดหัวแบบตื้อๆ หนักๆ 2. ปวดศีรษะแบบจี๊ดๆ แหลมๆ เห็นภาพซ้อน
3. ปวดศีรษะแบบตึงๆ 4. ถูกทุกข้อ
48.การทาปูนแดง เพื่อแยกโรค ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1.จุดที่ปวด ไม่แห้ง เงายิ้ม บ่งบอกโรคลำบอง จับโปง
2. จุดที่เจ็บ ที่ปวด ปูนแห้งเร็ว บ่งบอกโรควัณโรคโรคกระดูก
3. แห้งตามมัดกล้ามเนื้อ เป็นลำ บ่งบอกโรคลำบอง
4. ถูกทุกข้อ
49. ถ้าพบว่าผู้ป่วยมีลักษณะ บวมที่ใบหน้า (หน้ากลมมน, ผิวแห้งขนดก) อาจตั้งสมุฎฐานว่าผู้ป่วยเป็นอย่างไร
1. โรคตับอักเสบ 2. อาจได้รับยาสเตียรอยด์มานาน 3. วัยใกล้หมดระดู 4. ถูกทุกข้อ
50. ถ้าตรวจผู้ป่วยพบว่า ข้อเข่าของผู้ป่วย มีลักษณะ “ ฝืด ขัดและปวด” ท่านอาจตั้งสมุฎฐานว่าผู้ป่วยรายนี้เป็นโรคอะไร
1.โรคเข่าอ่อนแรง 2. โรคเข่าเสื่อม 3. โรคลมปราบ 4. ถูกทุกข้อ
51. ข้อใดหมายถึงผู้ที่สุขภาพจิตที่ดี
1. การมีสภาวะที่สมบูรณ์และการมีสุขภาพจิตที่สมบูรณ์ของแต่ละบุคคล ตลอดทั้งมีความเข้าใจและยอมรับสภาพของตนเอง
2. ผู้ที่มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย และจิตใจ
3. ผู้ที่สามารถปรับตัวได้ (Adjusted Person)
4. ถูกทุกข้อ
52. ความเครียด ไม่ได้ทำให้ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีระร่างกายอย่างไร
1. ประสาทรับความรู้สึกของหูตาไวขึ้น
2. การใช้พลังงานของร่างกายลดลง
3. รู้สึกเพลีย ปวดศีรษะ ไมเกรน ท้องเสียหรือท้องผูก
4. นอนไม่หลับหรือง่วงเหงาหาวนอนตลอดเวลา
53. ข้อใดเป็นไม่ใช่วิธีที่ใช้ฝึกการหายใจที่ถูกต้องเพื่อคลายความเครียด
1.หายใจเข้าช้าๆลึกๆ 2. สังเกตว่ากระบังลมจะขยาย ท้องป่องออกเมื่อหายใจเข้า
3. ค่อยๆหายใจออกจนท้องป่อง 4. ไม่ใช่วิธีที่ถูกต้องทุกข้อ
54. ข้อใดที่เป็นสาเหตุที่อาจทำให้สุขภาพจิตเสื่อม
1.ความบกพร่องทางอวัยวะในร่างกาย 2. สมองได้รับความกระทบกระเทือนจากอุบัติเหตุ
3.ความบกพร่องทางสติปัญญาแต่กำเนิด 4. ถูกทุกข้อ
55. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับความเครียด
1. ความเครียดไม่มีประโยชน์กับมนุษย์เลย 2. ความเครียดช่วยให้ทำงานได้ดีขึ้น
3. ความเครียดมีแต่ไม่มีโทษกับมนุษย์ 4. ความเครียดไม่ได้มีสาเหตุจากพันธุกรรม
56. อากาศร้อนมากเกินไป เป็นสาเหตุของความเครียดแบบใด
1. ความเครียดทางกาย 2. ความเครียดทางใจ
3. ความเครียดทางสิ่งแวดล้อม 4. ความเครียดทางสังคม
57. ข้อใดไม่ใช่วิธีการคลายความเครียด
1. การพูดระบายความเครียด 2. .อาหารคลายความเครียด
3. การฝึกการหายใจ 4. การฝึกกลั้นลมหายใจนานๆ
58.ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ของการปฐมพยาบาล
1. เพื่อช่วยชีวิต
2. เพื่อเป็นการลดความรุนแรงของการบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วย
3. เพื่อทำให้บรรเทาความเจ็บปวดทรมาน และช่วยไม่ให้กลับสู่สภาพเดิมโดยเร็ว
4. เพื่อป้องกันความพิการที่จะเกิดขึ้นตามมาภายหลัง
59. เหตุการณ์ใดต่อไปนี้ผู้ทำการปฐมพยาบาลจะต้องช่วยแก้ไขอันดับแรก
1. นายแดง สำลักอาหาร เริ่มมีการหายใจติดขัด
2. นายดำ ถูกรถชน กระดูกขาหักและมีเลือดไหลมาก
3. นายเขียว ถูกยิงมีอาการหัวใจเต้นช้าลง
4. นายดำ ถูกงูกัดและปวดแผลมาก
60. เมื่อหัวไหล่หลุดสิ่งที่รีบแก้ไขอันดับแรกคืออะไร
1.รีบนำน้ำแข็งห่อผ้าประคบบริเวณไหล่ 2. รีบใช้ผ้าสามเหลี่ยมทำเป็นผ้าคล้องแขนพักหัวไหล่ไว้
3. รีบดึงหัวไหล่ให้เข้าที่ 4. รีบพันผ้ารอบๆหัวไหล่
61.ในกรณีมีผงเข้าตา ข้อใดเป็นวิธีในปฐมพยาบาลที่ถูกต้อง
1.ห้ามขยี้ตา ลืมตาในน้ำสะอาด หรือในน้ำเกลือ 0.9% กรอกตาไปมา
2.ถ้าผงอยู่ในเปลือกตาด้านล่าง ให้ดึงเปลือกตาล่างลงมาแล้วใช้ผ้าสะอาดเขี่ยออก
3.ถ้าผงอยู่ในเปลือกตาด้านบน ให้ดึงเปลือกตาบนลงมาทับเปลือกตาล่าง ขนของเปลือกตาล่างจะทำหน้าที่คล้ายแปรง ปัดเอาสิ่งแปลกปลอมออกมา
4.ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
62. กรณีที่เป็นไข้สูงและมีอาการหนาวสั่นร่วมด้วย การเช็ดตัวลดไข้ข้อใดเหมาะสมที่สุด
1. ใช้น้ำอุ่น อุณหภูมิประมาณ 40 องศาเซนเซียสเช็ดตัว
2. ใช้น้ำผสมแอลกอฮอล์ โดยใช้แอลกอฮอล์ 70% 1 ส่วน ผสมกับน้ำธรรมดาเช็ดตัว
3. ใช้น้ำเย็น อุณหภูมิประมาณ 5 องศาเซนเซียสเช็ดตัว
4. ใช้น้ำธรรมดา อุณหภูมิ 30-37 องศาเซนเซียสเช็ดตัว
63. อาการแขนขาไม่มีแรง กระวนกระวาย ลิ้นเกร็ง พูดจาอ้อแอ้ ตามัว น้ำลายฟูมปาก เนื่องจากกล้ามเนื้อการกลืนเป็นอัมพาต หยุดหายใจ และตายในที่สุด เป็นพิษของงูอย่างไร
1. พิษต่อระบบการแข็งตัวของเลือด 2. พิษต่อระบบประสาท
3. พิษต่อระบบกล้ามเนื้อ 4. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
64. อาการของพิษสุนัขบ้ากัดแบ่งเป็นระยะ
1. ๓ ระยะ 2. ๔ ระยะ 3. ๕ ระยะ 4. ๒ ระยะ
65.ข้อใดไม่ใช่กลไกพิเศษของร่างกายที่จะเปลี่ยนแปลงสารแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกาย
1. เปลี่ยนสารเคมีที่มีพิษมาก เป็นสารเคมีที่มีพิษน้อย
2.เปลี่ยนจากสารที่ไม่ฤทธิ์ในการรักษา เป็นสารที่ฤทธิ์ในการรักษา
3. เปลี่ยนจากสารที่มีพิษเป็นสารที่ไม่พิษเลย
4. เปลี่ยนสารที่ไม่มีพิษเป็นสารที่มีพิษต่อร่างกาย
66.การขับถ่ายยาออกจากร่างกายมีหลายทาง ข้อใดไม่ใช่
1. เหงื่อ 2. ลมหายใจ 3. น้ำกาม 4. น้ำนม
67. ข้อใดเป็นผลข้างเคียงของยาแก้ปวด พาราเซตามอล
1. ระคายเคืองกระเพาะอาหาร 2. มีพิษต่อตับมาก
3.เลือดออกง่าย 4. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
68. ข้อใดกล่าวถึงผลข้างเคียงของยาที่มีผลต่อทารกในครรภ์ได้ไม่ถูกต้อง
1. แอสไพริน ทำให้ทารกเลือดไหลไม่หยุด
2. เตตร้าซัยคลิน ทำให้ทารกมีฟันสีดำ
3. บุหรี่ทำให้ทารกคลอดออกมาน้ำหนักตัวน้อย และอาจเป็นโรคหัวใจ
4. เหล้ามีผลต่อการเติบโตและรูปร่างทารก
69. ข้อใดกล่าวถึงผลข้างเคียงของยาที่มีผลต่อร่างกายได้ไม่ถูกต้อง
1. ยาเตตราไซคลิน ทำให้คลื่นไส้อาเจียน
2. ยาแก้แพ้ ทำให้ง่วงนอน
3. ยากาน่ามัยซิน เสตปโตมัยซิน ทำให้ตาบอด
4. ยาแก้อักเสบ ยาคลายเส้น ทำให้ระคายเคืองกระเพาะอาหาร
70. ข้อใดเป็นความหมายของยาน้ำทิงเจอร์
1. รูปแบบยาน้ำที่ใช้รับประทาน มีรสหวาน มีแอลกอฮอล์ผสมอยู่ ประมาณ 4-40%
2.เป็นรูปแบบยาน้ำที่ส่วนผสมของแอลกอฮอล์ เป็นส่วนใหญ่
3. เป็นรูปแบบยาน้ำที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ 60-90% กับน้ำมันหอมระเหย
4. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
แนวข้อสอบการนวดไทย ชุดที่ ๓
(ทฤษฎีการแพทย์แผนไทย)
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียวเท่านั้น
1. เพราะเหตุใดหมอชีวกโกมารภัจจ์จึงมีความสนใจในวิชาแพทย์
(1) เพราะเป็นศาสตร์ระดับสูงสุดในประเทศอินเดีย
(2) เพราะเป็นวิชาที่ประกอบอาชีพไม่เบียดเบียนผู้ใด
(3) เพราะมีความรู้ความชำนาญเกี่ยวกับสมุนไพรอยู่ก่อนแล้ว
(4) เพราะเห็นผู้ที่ทุกข์ทรมานจากการเป็นโรคต่างๆ มามาก
2. เหตุการณ์สำคัญในข้อใดที่เกิดขึ้นในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7
(1) ทรงสร้างสถานพยาบาลที่เรียกว่า อโรคยาศาลา
(2) มีพิธีกรรมบวงสรวงพระไภสัชยคุรุไวทูรย์ด้วยน้ำและยาก่อนแจกจ่ายให้ผู้ป่วย
(3) การแพทย์แผนไทยรุ่งเรืองมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านเภสัชกรรมไทย
(4) มีการรวบรวมตำรับยาต่างๆ ขึ้นเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์การแพทย์แผนไทย
3. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเหตุการณ์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
(1) มีการจัดตั้งกรมหมอโดยเรียกหมอที่รับราชการว่าหมอหลวง
(2) มีการจัดตั้งวิทยาลัยแพทย์แผนโบราณวัดโพธิ์
3) นำตำรับยาต่างๆ ที่มีสรรพคุณดีและเชื่อถือได้มาบันทึกไว้บนหินอ่อน ณวัดโพธิ์
(4) มีการนำการแพทย์แผนตะวันตกเข้ามาเผยแพร่ นำโดยนายแพทย์แดนบีช บรัดเลย์
4. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเหตุการณ์ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
(1) มีการค้นพบหินบดยาสมัยทวาราวดีและหลักศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
(2) มีระบบการจัดหายาที่ชัดเจนสำหรับประชาชน
(3) มีการรวบรวมตำรับยาต่างๆ ขึ้นเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์การแพทย์แผนไทย
(4) การแพทย์แผนไทยรุ่งเรืองมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการนวดไทย
5. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเหตุการณ์ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
(1) มีการค้นพบหินบดยาสมัยทวาราวดีและหลักศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
(2) มีระบบการจัดหายาที่ชัดเจนสำหรับประชาชน
(3) มีการรวบรวมตำรับยาต่างๆ ขึ้นเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์การแพทย์แผนไทย
(4) การแพทย์แผนไทยรุ่งเรืองมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการนวดไทย
6. ในรัชสมัยใดที่มีการจารึกตำรายา ฤาษีดัดตน และตำราการนวดไทยไว้ตามศาลาราย
ที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
(1) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
(2) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
(3) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
(4) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
7. เหตุการณ์ในข้อใดเกิดขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
(1) โปรดเกล้าฯ ให้ตรากฎหมายชื่อว่ากฎหมายพนักงานพระโอสถถวาย
(2) มีการจัดตั้งกรมหมอ และเรียกหมอที่รับราชการว่าหมอหลวง
(3) มีการจัดตั้งวิทยาลัยแพทย์แผนโบราณวัดโพธิ์
(4) ได้นำการแพทย์แผนตะวันตกมาใช้มากขึ้น
8. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเหตุการณ์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
(1) มีการจัดตั้งกรมหมอโดยเรียกหมอที่รับราชการว่าหมอหลวง
(2) มีการจัดตั้งวิทยาลัยแพทย์แผนโบราณวัดโพธิ์
(3) นำตำรับยาต่างๆ ที่มีสรรพคุณดีและเชื่อถือได้มาบันทึกไว้บนหินอ่อน ณวัดโพธิ์
(4) ทรงให้ปั้นรูปฤาษีดัดตนในท่าทางต่างๆ เพื่อเป็นนิทรรศการแก่ผู้ประสงค์จะฝึกตนเป็นแพทย์
9. พระยาพิษณุประสาทเวช เห็นว่าตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1-4 ยากแก่ผู้ศึกษา
จึงได้พิมพ์ตำราขึ้นใหม่ได้แก่ตำราใดบ้าง
(1) ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ฉบับหลวง 1 เล่ม และตำราแพทย์ศาสตร์สังเขป 3 เล่ม
(2) ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ฉบับหลวง 2 เล่ม และตำราแพทย์ศาสตร์สังเขป 2 เล่ม
(3) ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ฉบับหลวง 2 เล่ม และตำราแพทย์ศาสตร์สังเขป 3 เล่ม
(4) ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ฉบับหลวง 3 เล่ม และตำราแพทย์ศาสตร์สังเขป 1 เล่ม
10. เหตุการณ์ในข้อใดเกิดขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
(1) มีการจัดตั้งศิริราชพยาบาล (2) มีการจัดพิมพ์ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
(3) มีการสั่งยกเลิกวิชาการแพทย์แผนไทย (4) มีการตรากฎหมายเสนาบดีเกิดขึ้น
11. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับกฎหมายเสนาบดี
(1) ให้เรียกหมอที่รับราชการว่าหมอหลวง เรียกหมอที่ไม่ได้รับราชการว่าหมอราษฎร
(2) ตราขึ้นเพื่อควบคุมการประกอบโรคศิลปะในสาขาต่างๆ
(3) เป็นกฎหมายที่แบ่งการประกอบโรคศิลปะออกเป็นแผนปัจจุบันและแผนโบราณ
(4) เป็นกฎหมายที่สั่งให้ยกเลิกวิชาการแพทย์แผนไทยในปีพ.ศ.2546
12. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับจรรยาแพทย์แผนโบราณ
(1) นายอภิณัฐให้การรักษาแก่ผู้ป่วยอย่างเท่าเทียมกัน
(2) นายสันติตรวจโรคด้วยความพินิจพิเคราะห์เหตุผลโดยรอบคอบ
(3) นายสมศักดิ์มีความรู้ไม่เพียงพอ แต่รับผู้ป่วยไว้รักษาด้วยความสงสาร
(4) นายสมชายไม่แสดงอารมณ์โกรธเมื่อได้ยินคำนินทา
13. แพทย์ผู้หนึ่ง รักษาผู้ป่วยโดยไม่ตั้งใจรักษาโรคให้หาย เนื่องจากเคยมีปัญหาขัดแย้งกันมาก่อน แสดงว่าแพทย์ผู้นี้มีอคติในข้อใด
(1) ฉันทาคติ (2) โทสาคติ (3) ภยาคติ (4) โมหาคติ
14. นางสาวไพริน เป็นแพทย์แผนไทยที่ตรวจอาการของโรคด้วยความพินิจพิเคราะห์อย่างถี่ถ้วน ถึงแม้ว่านางสาวไพรินจะมีประสบการณ์ในการตรวจรักษาผู้ป่วยมาเป็นเวลานาน แสดงว่านางสาวไพรินไม่ลุอำนาจแก่อคติในข้อใด
(1) ภยาคติ (2) ฉันทาคติ (3) โทสาคติ (4) โมหาคติ
15. จรรยาบรรณวิชาชีพในข้อใดที่ตรงกันทั้งทางด้านเวชกรรมไทย เภสัชกรรมไทย และผดุงครรภ์ไทย
(1) ไม่เป็นคนเกียจคร้าน (2) ไม่ลุอำนาจแก่อคติทั้ง 4
(3) ไม่หวั่นไหวต่อโลกธรรม 8 (4) ไม่มีสันดานมัวเมา
16. ข้อใดไม่ใช่จรรยาบรรณของผดุงครรภ์แผนโบราณ
(1) ไม่โอ้อวดความรู้ (2) ไม่มีความละอายต่อบาป
(3) ไม่หวั่นไหวต่อโลกธรรม 8 (4) ไม่ลุอำนาจแก่อคติ 4
17. คุณธรรมของหมอนวดที่นอกเหนือจากการปฏิบัติตามจรรยาแพทย์แล้ว มีอะไรบ้าง
(1) ไม่หลอกลวงผู้ป่วย (2) ไม่พูดจาโอ้อวด
(3) ไม่เจ้าชู้ (4) ถูกทุกข้อ
18. จรรยาบรรณด้านการนวดในข้อใดที่ต่างจากการผดุงครรภ์แผนโบราณ
(1) มีเมตตาจิตต่อคนไข้ (2) ไม่มีสันดานมัวเมา
(3) มีความอ่อนน้อมถ่อมตน (4) มีสติใคร่ครวญเหตุผล
19. ปรึกษาบุคคลที่มีความชำนาญกว่า จัดอยู่ในจรรยาบรรณวิชาชีพการแพทย์แผนไทยในสาขาใด
(1) ผดุงครรภ์แผนไทย (2) เวชกรรมแผนไทย
(3) เภสัชกรรมแผนไทย (4) การนวดไทย
20. น้ำหนึ่งอายุ 25 ปี มีอาการเป็นไข้ ตัวร้อน กระสับกระส่าย จัดเป็นอายุสมุฏฐานช่วงใด
(1) มัชฉิมวัย เจ็บป่วยด้วยเสมหะเป็นต้นวาตะเป็นที่สุด
(2) มัชฉิมวัย ปิตตะเป็นเจ้าเรือน มีกำลัง 12 องศา
(3) มัชฉิมวัย เจ็บป่วยด้วยปิตตะเป็นต้น เสมหะเป็นที่สุด
(4) ปัจฉิมวัย เจ็บป่วยด้วยปิตตะเป็นต้น เสมหะเป็นที่สุด
21. กาลสมุฏฐานวาโยพิกัดพิกัดวาตะกระทำอยู่ในช่วงเวลาใด
(1) 06.00-10.00 น. 18.00-22.00 น. (2) 10.00-14.00 น. 22.00-02.00 น.
(3) 11.00-14.00 น. 23.00-02.00 น. (4) 14.00-18.00 น. 02.00-06.00 น.
22. . นายราบมีอาการเป็นหวัด คัดจมูกน้ำมูกไหล ในวันที่ 13 แรม 4 ค่ำ เดือน 12 จัดเป็นฤดูใด
(1) เหมันตฤดู (2) วสันตฤดู (3) เหมันตฤดู (4) วสันตฤดู
23. สมุฏฐานอาโปธาตุพิกัด เป็นที่ตั้งแห่งทวาทศอาโป ประกอบด้วย
(1) โลหิตตัง-เขโฬ-ศอเสมหะ (2) ศอเสมหะ-อุระเสมหะ-เขโฬ
(3) ศอเสมหะ-อุระเสมหะ-คูถเสมหะ (4) อุระเสมหะ-คูถเสมหะ-โลหิตตัง
24. พระคัมภีร์สมุฏฐานวินิจฉัย เป็นคัมภีร์ที่กล่าวถึงเรื่องใด?
(1) กาฬ ๕ ประการ (2) กระษัย ๒๖ จำพวก
(3) พิกัดสมุฏฐาน ๔ ประการ (4) โลหิตระดู
25. มิจฉาญาณแพทย์หมายถึงอะไร
(1) แพทย์แผนไทย (2) แพทย์ชนบท (3 ) แพทย์ที่รู้แจ้ง (4) แพทย์ที่มิรู้แจ้ง
26. ข้อใดต่อไปนี้ผิด
(1) ปฐมวัย คือวัยตั่งแต่แรกเกิดถึง ๑๖ ปี (2) มัชฌิมวัย มีปิตตะเป็นเจ้าเรือน
(3) ปัจฉิมวัย นับตั้งแต่อายุ ๓๔ ปีขึ้นไป (4) ถูกทุกข้อ
27. ในฤดู๓ เหมันตฤดูมีสมุฏฐานใดเป็นเหตุให้การเจ็บป่วย
(1) ปิตตะสมุฏฐาน (2) วาตะสมุฏฐาน
(3) เสมหะสมุฏฐาน (4) เสมหะเจือปิตตะสมุฏฐาน
28. นับตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๔ ไปจนถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ คือฤดูใด
(1) เหมันตฤดู (2) วัสสันตฤดู (3) คิมหันตฤดู (4) วัสสานสมุฏฐาน
29. ตั้งแต่ย่ำค่ำถึง ๔ทุ่ม (๑๘.00 – ๒๒.00) มีพิกัดใดเป็นตัวกระทำให้เกิดความเจ็บปวด
(1) วาตะเป็นตัวกระทำ (2) เสมหะเป็นตัวกระทำ
(3) ปิตตะเป็นตัวกระทำ (4) ปิตตะและเสมหะเป็นตัวกระทำ
30. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวประวัติบรมครูแพทย์แผนไทย
(1). หมอชีวกโกมารภัจจ์ เป็นบุตรบุญธรรมของพระเจ้าพิมพิสาร
(2). พระเจ้าพิมพิสารปกครองอยู่ในกรุง มคธ แห่งแคว้น ราชคฤห์
(3). หมอชีวกโกมารภัจจ์ ไปศึกษาวิชาแพทย์ที่สำนัก ทิศาปราโมกข์ เมือง พาราณสี
(4.) หมอชีวกโกมารภัจจ์ทรงใช้เวลาในการศึกษาวิชาแพทย์เป็นเวลา ๗ ปีซึ่งปกติใช้เวลาศึกษา
ตามปกติเป็นเวลา ๑๗ ปี
32.ข้อใดกล่าวถึงประวัติการแพทย์แผนโบราณได้ไม่ถูกต้อง
(1)ก่อนสมัยสุโขทัย จากศิลาจารึกของอาณาจักรขอม ได้จารึกในปี๑๗๒๕-๑๗๒๙.
ซึ่งตรงกับสมัยใด พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗
(2) อโรคยาศาลา ถูกสร้างโดย พ่อขุนรามคำแหง. มีจำนวนเท่าใด ๑๐๒ แห่ง
(3). ในสมัยขอมมีพิธีกรรมบวงสรวง พระไภศัชยคุรุไวทูรย์ประภา เพื่อบูชาด้วยอาหารและยา
ตามความเชื่อของพุทธศาสนานิกายมหายาน
(4) ปัจจุบัน อโรคยาศาลาที่ที่ยังเหลือประสาทที่สมบูรณ์ที่สุดคือ กู่บ้านเขว้า จังหวัดมหาสารคาม
33.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับประวัติการแพทย์แผนโบราณ
(1) ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ มีการรวบรวมตำรับยาต่างๆ ขึ้น เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ เรียกตำรา พระโอสถพระนารายณ์
(2). การแบ่งหมอออกเป็นหมอหลวง และหมอราษฎร์ หรือหมอเชลยศักดิ์ เกิดขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
(3). พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงปฏิสังขรณ์วัดโพธาราม
(4) ในปีพ.ศ. 2395 รัชกาลที่ 2 ทรงให้ตรากฎหมายพนักงานโอสถถวาย
34. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับประวัติการแพทย์แผนโบราณ
(1) ในสมัยรัชกาลที่ ๔ มีการจารึกตำรายา ไว้ในแผ่นศิลาวัดราชโอรสาราม
(2) มิชชันนารีชาวฝรั่เศสได้ นำวิธีการแพทย์ตะวันตกมาใช้ในประเทศสยาม เกี่ยวกับการปลูกฝี
ป้องกันไข้ทรพิษ
(3). การใช้ยาเม็ดควินินรักษาไข้จับสั่น เกิดครั้งแรกเมื่อสมัยรัชกาลที่ ๓ โดยนายแพทย์เดนนิช บลัดเลย์
(4). สูติกรรมสมัยใหม่ได้เข้ามาในสยามประเทศในสมัยรัชกาลที่ ๕ แต่ไม่ได้รับความนิยม
35. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการแพทย์แผนโบราณ
(1). โรงพยาบาลศิริราชถูกจัดตั้งขึ้นในปีพ.ศ. 2431
(2). ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ พิมพ์ขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2447
(3). ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ แต่งขึ้นโดย หมอพร
(4). ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการยกเลิกวิชาการแพทย์แผนไทย โดยมี ประกาศกฎหมายใดมาบังคับ พ.ร.บ. ควบคุมการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2466
36. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการแพทย์แผนโบราณ
(1) กฎหมายเสนาบดี ได้แบ่งการประกอบโรคศิลปะออกเป็นแผนปัจจุบัน และแผนโบราณ เกิดขึ้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
(2). มูลนิธิที่มาฟื้นฟูการแพทย์ปริญญาในประเทศไทยคือ มูลนิธิลอกกี้ เฟลเลอร์
(3). หลักสูตรแพทย์แผนโบราณประยุกต์ ในอายุรเวทวิทยาลัย มีหลักสูตร ๓ ปี
(4) บิดาของการแพทย์แผนไทยประยุกต์คือ นายแพทย์ อวย เกตุสิงห์
37. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการแพทย์แผนโบราณ
(1). บิดาแห่งการแพทย์แผนโบราณคือ พระองค์เจ้าอาภากร เกียรติวงศ์
(2.) “พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์” เป็นพระนามเดิมของพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์
(3) “พระบิดาแห่งกองทัพเรือไทย” คือพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์
(4) หมอพร ทรงเขียนตำรายาแผนโบราณลงในสมุดข่อย ด้วยฝีพระหัตถ์พระองค์ เขียนเสร็จในปีใด
พ.ศ.๒๔๕๘ และทรงตั้งชื่อตำราที่พระองค์เขียนว่า พระคัมภีร์วรโยคสาร
38. ข้อใดกล่าวได้ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการแพทย์แผนโบราณ
(1). หมอพร ซึ่งเป็นพระราชสมัญญานามของท่านกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ด้วยเพราะพระองค์ทรงเป็นหมอยาไทย รักษาประชาชนด้วยน้ำพระทัยโอบอ้อมอารี
(2). การแพทย์แผนไทยเป็นสายใยแห่งวัฒนธรรม มีอิทธิพลอยู่ในทุกช่วงวัยของชีวิตเช่น การบูชาแม่ซื้อ การตัดสายสะดือ การเตรียมอู่สำหรับเด็กเกิดใหม่
(3) ตามโบราณมารดาหลังคลอด คนในครอบครัวจะนำไม้ไผ่มาล้อมบ้านเพื่อป้องกันสัตว์ร้าย
(4.) ใบหนาด มีความเชื่อตามโบราณว่าช่วยป้องกันผีร้าย
39. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการแพทย์แผนโบราณ
(1) การนำเด็กแรกเกิดมานอนในกระด้งพร้อมกับสมุดดินสอ ตามโบราณมีความเชื่อว่าทำให้เด็ก
เลี้ยงง่ายโตเร็ว
(2) การผูกสายสิญจน์ที่ข้อมือเด็ก ตามโบราณมีความเชื่อว่าจะช่วยให้เด็กที่สุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง
(3). การอยู่ไฟในสมัยโบราณมารดาหลังคลอดจะอาบน้ำต้มสมุนไพร เพื่อชำระล้างร่างกายให้สะอาด และทาตัวด้วยขมิ้นเพื่อประโยชน์ รักษาอาการอักเสบที่ผิวหนัง และบำรุงผิวพรรณ
(4.) ตามโบราณมีความเชื่อเรื่องการอยู่ไฟหลังคลอดว่าทำให้มารดาหลังคลอดมีสุขภาพแข็งแรง สร้างความอบอุ่นให้ร่างกาย ความร้อนช่วยกระตุ้นการหดตัวของมดลูก ช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็ว
40. ข้อใดเป็นความหมายที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับคำว่า เบญจขันธ์
(1) คำว่า “รูป” หมายถึง กาย ส่วนประกอบที่มองเห็นสามารถจับจ้องได้
(2) คำว่า “เวทนา” หมายถึง ความรู้สึก สุข ทุกข์ หรือเฉยๆ จากการที่สายตาไปกระทบ หรือสัมผัส (ร้อน-เย็น)
(3) “การจำได้ จากสัญลักษณ์ หมายรู้ว่าจำได้” เป็นความหมายของคำว่า “ สัญญา”
(4). “องค์ประกอบทางจิต จิตจะดีจะชั่ว หรือเป็นกลางๆ ได้ ปรุงแต่งจิต” เป็นความหมายของคำว่า “วิญญาณ”
41. “ผู้ที่รูปร่างสูงใหญ่ ผิวค่อนข้างคล้ำ ผมดกดำ เสียงดังฟังชัด ข้อกระดูกแข็งแรง กระดูกใหญ่ น้ำหนัก
ตัวมาก ล่ำสันอวัยวะสมบูรณ์” ลักษณะรูปร่างนี้ เป็นลักษณะของผู้ที่มีธาตุเจ้าเรือนอะไร
(1) ธาตุดิน (2) ธาตุน้ำ (3) ธาตุลม (4) ธาตุไฟ
42. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการรับประทานอาหารตามธาตุเจ้าเรือนเพื่อดูแลสุขภาพ
(1). ผู้ที่มีธาตุน้ำเป็นธาตุเจ้าเรือน ควรรับประทานอาหารรส เปรี้ยว ขม หรือเมาเบื่อ
(2). ผู้ที่มีธาตุดินเป็นธาตุเจ้าเรือน ควรรับประทานอาหารรส ฝาด เผ็ด เค็ม เปรี้ยว
(3) ผู้ที่มีธาตุลมเป็นธาตุเจ้าเรือน ควรรับประทานอาหาร รส เผ็ดร้อน สุขุม
(4). ผู้ที่มีธาตุไฟเป็นธาตุเจ้าเรือนควรหลีกเลี่ยงรับประทานอาหารรส จืดเย็น
43. ผู้ที่มีธาตุเจ้าเรือนใดที่มีความรู้สึกทางเพศดีที่สุด
(1) ธาตุดิน (2) ธาตุน้ำ (3) ธาตุลม (4) ธาตุไฟ
44. ข้อใดหมายถึงธาตุไฟทั้งหมด
(1) ปริทัยหัคคี,ปริณามัคคี,สันตัปปัคคี (2) ชิรณัคคี,อังคมังคานุสารีวาตา,ยกนัง
(3)ปริณามัคคี,ชิรณัคคี,อุทธังคมาวาตา, (4) สันตัปปัคคี,ชิรณัคคี, มัตถเกมัตถลุงคัง
45. ข้อกล่าวถึงฤดูสมุฏฐานได้ถูกต้อง
(1) ในฤดูร้อน (คิมหันตฤดู) มนุษย์มักเจ็บป่วยด้วยธาตุไฟ
(2) ในฤดูฝน (วสันตฤดู) มนุษย์มักเจ็บป่วยด้วยธาตุน้ำ
(3) ในฤดูหนาว (เหมันตฤดู) มนุษย์มักเจ็บป่วยด้วยธาตุลม
(4) ถูกทุกข้อ
46.ข้อใดกล่าวถึงอายุสมุฏฐานได้ถูกต้อง
(1) ในปฐมวัยมนุษย์มักเจ็บป่วยด้วยธาตุ ธาตุน้ำ (2) ในมัจฉิมวัย มนุษย์มักเจ็บป่วยด้วยธาตุลม
(3) ในปัจฉิมวัย มนุษย์มักเจ็บป่วยด้วยธาตุไฟ (4) ถูกทุกข้อ
47. ข้อใดกล่าวถึงประเทศสมุฏฐานได้ไม่ถูกต้อง
(1) ผู้ที่อยู่ในประเทศร้อน มักเจ็บป่วยด้วยธาตุไฟ (2) ผู้ที่อยู่ในประเทศเย็น มักเจ็บป่วยด้วยธาตุน้ำ
(3)ผู้ที่อยู่ในประเทศอุ่น มักเจ็บป่วยด้วยอาโปธาตุ (4)ผู้ที่อยู่ในประเทศหนาว มักเจ็บป่วยด้วยปถวีธาตุ
48. ข้อใดกล่าวถึงอิทธิพลของกาลสมุฏฐานได้ถูกต้อง
(1) ช่วงเวลา 06.00 – 10.00 น. มนุษย์มักเจ็บป่วยด้วยธาตุลม
(2) ช่วงเวลา 10.00 – 14.00 น. มนุษย์มักเจ็บป่วยด้วยธาตุน้ำ
(3) ช่วงเวลา 02.00 – 06.00 น. มนุษย์มักเจ็บป่วยด้วยธาตุลม
(4) ช่วงเวลา 00.00-02.00 น. มนุษย์มักเจ็บป่วยด้วยธาตุดิน
49. ข้อใดกล่าวถึงอิทธิพลของจักราศรีที่ทำให้มนุษย์เจ็บป่วยได้ถูกต้อง
(1) ในราศีกรกฎ มักเจ็บป่วย บริเวณอก (2) ในราศีตุลย์ มักเจ็บป่วย บริเวณ ท้องบน
(3) ในราศีธนู มักเจ็บป่วยบริเวณสะโพก (4) ในราศีพิจิก มักเจ็บป่วยบริเวณเข่า
50. ข้อใดไม่เป็นพฤติกรรมที่เป็นมูลเหตุก่อโรค ๘ ประการ
(1) อดข้าว อดน้ำ (2) กลั้นอุจจาระ,ปัสสาวะ
(3) มีโมหะมากเกินไป (4) ความเศร้าโศกเสียใจ
51. ข้อใดไม่ใช่สาขาที่ประกอบโรคศิลปะตามพ.ร.บ. การประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒ ในปัจจุบัน
(1) สาขาแก้ไขความผิดปกติของการสื่อความหมาย,สาขาทัศนมาตรศาสตร์
(2) สาขาเทคโนยีหัวใจและทรวงอก,สาขาการแพทย์แผนจีน
(3) สาขากายอุปกรณ์,สาขากิจกรรมบำบัด
(4) สาขารังสีเทคนิค,สาขาจิตวิทยาคลินิก
52. กองการประกอบโรคศิลปะ อยู่ในสังกัดของกรมใดในกระทรวงสาธารณะสุข
(1) กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
(2) กรมการแพทย์
(3) กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
(4) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
53. การเพิ่มสาขาการประกอบโรคศิลปะ ตาม พ.ร.บ. การประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒ ใช้กฎหมายใด
(1) ประกาศกระทรวง (2) พระราชกำหนด (3)กฎกระทรวง (4) พระราชกฤษฎีกา
54.นายชำนาญ เชี่ยวดี เป็นเภสัชกรไทย แต่เป็นบุคคลล้มละลาย นายชำนาญไม่สามารถกระทำข้อใดได้
(1) เป็นกรรมการการประกอบโรคศิลปะ
(2) เป็นกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทย
(3) อนุกรรมการการประกอบโรคศิลปะ
(4) เป็นอนุกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทย
55. นายยอด สันสูงเนิน เป็นคนพิการตาบอด ถ้านายยอดต้องการขอขึ้นทะเบียนและรับในอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทย์แผนไทย จะกระทำได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
(1) ได้ เพราะคณะกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทยเป็นผู้ตัดสินชี้ขาดคุณสมบัติ
(2) ได้ เพราะคณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะเป็นผู้ตัดสินชี้ขาดคุณสมบัติ
(3) ไม่ได้ เพราะกฎหมายห้ามมิให้ผู้มีร่างกายทุพพลภาพประกอบโรคศิลปะ
(4) ไม่ได้ เพราะ กฎหมายห้ามมิให้ผู้ที่มีร่างกายพิการประกอบโรคศิลปะ
56. บุคคลใดมีสิทธิได้รับใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะจากคณะกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทย
(1) นาย ก. ได้มอบตัวศิษย์และได้รับการอบรมจากนาย ข. ซึ่งเป็นครูผู้รับมอบตัวศิษย์ตามเงื่อนไขและหลักเกณฑ์ ของคณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะ
(2) นาย เขียว เข้าศึกษาในสถาบันการศึกษาแห่งหนึ่งที่คณะกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทยรับรองหลักสูตรและสถาบันการศึกษา
(3) นายแดง เป็นหมอพื้นบ้านที่ชำนาญด้านการนวดไทย และได้ผ่านการรับรองจากคณะอนุกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทย
(4) ทุกคนที่กล่าวมามีสิทธิได้รับใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะ
58. นางสาวสุดสวย แสนดี ถูกนายหล่อ สุดเท่ห์ ซึ่งเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทย ประเภท เวชกรรมไทย ล่วงเกินในระหว่างที่เข้ารับบริการทางการแพทย์กับนาย หล่อ เมื่อวันที่๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ นางสาวสุดสวย เป็นผู้เสียหายจะต้องทำเรื่องกล่าวหา นายหล่อ ต่อคณะกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทยอย่างช้าที่สุดเมื่อไร
(1) วันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (2) วันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
(3) วันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ (4) วันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
59. ผู้ประกอบวิชาชีพหรือผู้ประกอบโรคศิลปะใดที่ไม่สามารถขออนุญาตเป็นผู้ดำเนินการสถานพยาบาลได้
(1) ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกร
(2) ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลและผดุงครรภ์
(3) ผู้ประกอบโรคศิลประสาขาการแพทย์แผนไทยประเภทผดุงครรภ์ไทย
(4) ผู้ประกอบวิชาชีพกายภาพบำบัด
60. ในปัจจุบันคณะกรรมการสถานพยาบาล ส่วนผู้แทนที่มาจากผู้ประกอบวิชาชีพที่สภาวิชาชีพแนะนำ มีจำนวนเท่าไร
(1) ๔ คน (2) ๖ คน (3) ๗ คน (4) ๙ คน
61. คณะกรรมการสถานพยาบาล ตามข้อ 60 มีวาระดำรงตำแหน่งอย่างไร
(1) ๒ปี (2) ๓ ปี (3) กฎหมายไม่ได้กำหนดไว้ (4) ๑ ปี
62. ป้าเช็ง ถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้เปิดสถานพยาบาลโดยไม่ได้รับอนุญาต หากศาลพิพากษาว่ามีความผิดจริง ตามกฎหมายสถานพยาบาล ป้าเช้งจะอาจได้รับโทษอย่างไร
(1) โทษจำคุกไม่เกิน ๑ ปีหรือปรับไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(2) โทษจำคุกไม่เกิน ๒ ปี หรือปรับไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(3) โทษจำคุกไม่เกิน ๓ ปี หรือปรับ ไม่เกิน ๓๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(4) โทษจำคุกไม่เกิน ๓ ปีหรือปรับไม่เกิน ๖๐,๐๐๐ บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
63. นายสมชาย ชาตรี เป็นโรคเท้าช้าง และอยู่ในระยะติดต่อและน่ารังเกียจ นายสมชายจะขอรับอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล ประเภทที่ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนได้หรือไม่ เพราะอะไร
(1)ไม่ได้ เพราะเป็นโรคที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณะสุขประกาศห้ามไว้ในราชกิจจานุเบกษา
(2) ไม่ได้ เพราะ เป็นโรคที่คณะกรรมการสถานพยาบาลประกาศห้ามไว้ในราชกิจจานุเบกษา
(3) ได้ เพราะไม่ใช่โรคที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณะสุขประกาศห้ามไว้ในราชกิจจานุเบกษา
(4) ได้ เพราะไม่ใช่โรคที่คณะกรรมการสถานพยาบาลประกาศห้ามไว้ในราชกิจจานุเบกษา
64. ความผิดที่ถูกลงโทษด้วยการจำคุกตาม พ.ร.บ. สถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ คณะกรรมการเปรียบเทียบปรับสามารถเปลี่ยนเป็นค่าปรับแทนได้ในกรณีใด
(1) กรณีโทษจำคุกไม่เกิน ๖ เดือน (2) กรณีโทษจำคุกไม่เกิน ๑ ปี
(3) กรณีโทษจำคุกไม่เกิน ๒ ปี (4) ถูกทุกข้อ
65. ข้อใดไม่ใช่ยา ตามความหมายของ พ.ร.บ .ยา พ.ศ. ๒๕๑๐
(1) วัตถุที่รับรองไว้ในตำรายาที่คณะรัฐมนตรีประกาศ
(2) วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรค หรือความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์
(3) วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์ หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป
(4) วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้าง หรือการกระทำหน้าที่ใดๆ ของร่างกายของมนุษย์หรือสัตว์
66. นายชม ชอบชิด ต้องการเปิดร้านขายยาแผนโบราณที่อำเภอปากเกร็ด จ.นนทบุรี นายชมจะต้องทำอย่างไร
(1) นายชมต้องขออนุญาตกับเลขาธิการอาหารและยา ที่กระทรวงสาธารณะสุข
(2) นายชมต้องขออนุญาตกับผู้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรี
(3) นายชมต้องขออนุญาตกับผู้ว่าการกรุงเทพมหานคร
(4) นายชมต้องขออนุญาตกับคณะกรรมการยา
67. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับกรรมการยาตามพ.ร.บ. ยา พ.ศ. ๒๕๑๐
(1)กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ต้องเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ ไม่น้อยกว่า ๓ คน
(2) กรรมการส่วนที่เป็นผู้แทนจากคณะบดีคณะเภสัชศาสตร์มีจำนวน ๒ คน
(3) ปลัดกระทรวงสาธารณะสุขเป็นประธานกรรมการยา
(4) รองเลขาธิการอาหารและยาเป็นเลขานุการและกรรมการ
68. ป้าเช็ง โฆษณาขายน้ำหมักชีวภาพว่าเป็นยาที่รักษาโรคได้สารพัด และโอ้อวดสรรพคุณเกินความจริง โดยไม่ได้รับอนุญาต ป้าเช็งอาจได้รับโทษสูงสุดเท่าไร
(1) จำคุกไม่เกิน ๓ ปีหรือปรับไม่เกิน ๓๐,๐๐๐ บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(2) ปรับไม่เกิน ๕๐,๐๐๐ บาทและปรับรายวันอีกวันละ ๑๐,๐๐๐ บาทจนกว่าจะหยุดโฆษณา
(3) ปรับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท (4) ปรับไม่เกิน๒๐๐,๐๐๐ บาท
69. ในกรณีใดที่ต้องขอขึ้นทะเบียนยา
(1) ยาที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์และเภสัชเคมีภัณฑกึ่งสำเร็จรูปที่มิใช่ยาบรรจุเสร็จ
(2) ยาสมุนไพร (3) ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ (4) ยาตัวอย่างที่อนุญาตให้ผลิตยา
70. ถ้าป้าเช็ง ต้องการขออนุญาตขึ้นทะเบียนน้ำหมักชีวภาพให้เป็นยาและให้ชื่อ “ยาน้ำมหาบำบัด” ป้าเช็งจะขึ้นทะเบียนยานี้ได้หรือไม่ เพราะอะไร
(1) ไม่ได้ เนื่องจากใช้ชื่อยาที่แสดงถึงการโอ้อวดสรรพคุณและอาจทำให้เข้าใจผิดจากความจริง
(2) ไม่ได้ เนื่องจากชื่อยาแสดงถึงวัฒนธรรมที่ไม่ดีงามของไทย
(3) ได้ เพราะ ไม่มีกฎหมายห้ามการตั้งชื่อยา
(4) ได้ เพราะ ป้าเช็งมีสถานที่ผลิตยาที่ได้รับอนุญาตการผลิต
(ทฤษฎีการแพทย์แผนไทย)
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียวเท่านั้น
1. เพราะเหตุใดหมอชีวกโกมารภัจจ์จึงมีความสนใจในวิชาแพทย์
(1) เพราะเป็นศาสตร์ระดับสูงสุดในประเทศอินเดีย
(2) เพราะเป็นวิชาที่ประกอบอาชีพไม่เบียดเบียนผู้ใด
(3) เพราะมีความรู้ความชำนาญเกี่ยวกับสมุนไพรอยู่ก่อนแล้ว
(4) เพราะเห็นผู้ที่ทุกข์ทรมานจากการเป็นโรคต่างๆ มามาก
2. เหตุการณ์สำคัญในข้อใดที่เกิดขึ้นในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7
(1) ทรงสร้างสถานพยาบาลที่เรียกว่า อโรคยาศาลา
(2) มีพิธีกรรมบวงสรวงพระไภสัชยคุรุไวทูรย์ด้วยน้ำและยาก่อนแจกจ่ายให้ผู้ป่วย
(3) การแพทย์แผนไทยรุ่งเรืองมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านเภสัชกรรมไทย
(4) มีการรวบรวมตำรับยาต่างๆ ขึ้นเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์การแพทย์แผนไทย
3. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเหตุการณ์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
(1) มีการจัดตั้งกรมหมอโดยเรียกหมอที่รับราชการว่าหมอหลวง
(2) มีการจัดตั้งวิทยาลัยแพทย์แผนโบราณวัดโพธิ์
3) นำตำรับยาต่างๆ ที่มีสรรพคุณดีและเชื่อถือได้มาบันทึกไว้บนหินอ่อน ณวัดโพธิ์
(4) มีการนำการแพทย์แผนตะวันตกเข้ามาเผยแพร่ นำโดยนายแพทย์แดนบีช บรัดเลย์
4. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเหตุการณ์ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
(1) มีการค้นพบหินบดยาสมัยทวาราวดีและหลักศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
(2) มีระบบการจัดหายาที่ชัดเจนสำหรับประชาชน
(3) มีการรวบรวมตำรับยาต่างๆ ขึ้นเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์การแพทย์แผนไทย
(4) การแพทย์แผนไทยรุ่งเรืองมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการนวดไทย
5. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเหตุการณ์ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
(1) มีการค้นพบหินบดยาสมัยทวาราวดีและหลักศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
(2) มีระบบการจัดหายาที่ชัดเจนสำหรับประชาชน
(3) มีการรวบรวมตำรับยาต่างๆ ขึ้นเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์การแพทย์แผนไทย
(4) การแพทย์แผนไทยรุ่งเรืองมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการนวดไทย
6. ในรัชสมัยใดที่มีการจารึกตำรายา ฤาษีดัดตน และตำราการนวดไทยไว้ตามศาลาราย
ที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
(1) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
(2) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
(3) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
(4) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
7. เหตุการณ์ในข้อใดเกิดขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
(1) โปรดเกล้าฯ ให้ตรากฎหมายชื่อว่ากฎหมายพนักงานพระโอสถถวาย
(2) มีการจัดตั้งกรมหมอ และเรียกหมอที่รับราชการว่าหมอหลวง
(3) มีการจัดตั้งวิทยาลัยแพทย์แผนโบราณวัดโพธิ์
(4) ได้นำการแพทย์แผนตะวันตกมาใช้มากขึ้น
8. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเหตุการณ์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
(1) มีการจัดตั้งกรมหมอโดยเรียกหมอที่รับราชการว่าหมอหลวง
(2) มีการจัดตั้งวิทยาลัยแพทย์แผนโบราณวัดโพธิ์
(3) นำตำรับยาต่างๆ ที่มีสรรพคุณดีและเชื่อถือได้มาบันทึกไว้บนหินอ่อน ณวัดโพธิ์
(4) ทรงให้ปั้นรูปฤาษีดัดตนในท่าทางต่างๆ เพื่อเป็นนิทรรศการแก่ผู้ประสงค์จะฝึกตนเป็นแพทย์
9. พระยาพิษณุประสาทเวช เห็นว่าตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1-4 ยากแก่ผู้ศึกษา
จึงได้พิมพ์ตำราขึ้นใหม่ได้แก่ตำราใดบ้าง
(1) ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ฉบับหลวง 1 เล่ม และตำราแพทย์ศาสตร์สังเขป 3 เล่ม
(2) ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ฉบับหลวง 2 เล่ม และตำราแพทย์ศาสตร์สังเขป 2 เล่ม
(3) ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ฉบับหลวง 2 เล่ม และตำราแพทย์ศาสตร์สังเขป 3 เล่ม
(4) ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ฉบับหลวง 3 เล่ม และตำราแพทย์ศาสตร์สังเขป 1 เล่ม
10. เหตุการณ์ในข้อใดเกิดขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
(1) มีการจัดตั้งศิริราชพยาบาล (2) มีการจัดพิมพ์ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
(3) มีการสั่งยกเลิกวิชาการแพทย์แผนไทย (4) มีการตรากฎหมายเสนาบดีเกิดขึ้น
11. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับกฎหมายเสนาบดี
(1) ให้เรียกหมอที่รับราชการว่าหมอหลวง เรียกหมอที่ไม่ได้รับราชการว่าหมอราษฎร
(2) ตราขึ้นเพื่อควบคุมการประกอบโรคศิลปะในสาขาต่างๆ
(3) เป็นกฎหมายที่แบ่งการประกอบโรคศิลปะออกเป็นแผนปัจจุบันและแผนโบราณ
(4) เป็นกฎหมายที่สั่งให้ยกเลิกวิชาการแพทย์แผนไทยในปีพ.ศ.2546
12. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับจรรยาแพทย์แผนโบราณ
(1) นายอภิณัฐให้การรักษาแก่ผู้ป่วยอย่างเท่าเทียมกัน
(2) นายสันติตรวจโรคด้วยความพินิจพิเคราะห์เหตุผลโดยรอบคอบ
(3) นายสมศักดิ์มีความรู้ไม่เพียงพอ แต่รับผู้ป่วยไว้รักษาด้วยความสงสาร
(4) นายสมชายไม่แสดงอารมณ์โกรธเมื่อได้ยินคำนินทา
13. แพทย์ผู้หนึ่ง รักษาผู้ป่วยโดยไม่ตั้งใจรักษาโรคให้หาย เนื่องจากเคยมีปัญหาขัดแย้งกันมาก่อน แสดงว่าแพทย์ผู้นี้มีอคติในข้อใด
(1) ฉันทาคติ (2) โทสาคติ (3) ภยาคติ (4) โมหาคติ
14. นางสาวไพริน เป็นแพทย์แผนไทยที่ตรวจอาการของโรคด้วยความพินิจพิเคราะห์อย่างถี่ถ้วน ถึงแม้ว่านางสาวไพรินจะมีประสบการณ์ในการตรวจรักษาผู้ป่วยมาเป็นเวลานาน แสดงว่านางสาวไพรินไม่ลุอำนาจแก่อคติในข้อใด
(1) ภยาคติ (2) ฉันทาคติ (3) โทสาคติ (4) โมหาคติ
15. จรรยาบรรณวิชาชีพในข้อใดที่ตรงกันทั้งทางด้านเวชกรรมไทย เภสัชกรรมไทย และผดุงครรภ์ไทย
(1) ไม่เป็นคนเกียจคร้าน (2) ไม่ลุอำนาจแก่อคติทั้ง 4
(3) ไม่หวั่นไหวต่อโลกธรรม 8 (4) ไม่มีสันดานมัวเมา
16. ข้อใดไม่ใช่จรรยาบรรณของผดุงครรภ์แผนโบราณ
(1) ไม่โอ้อวดความรู้ (2) ไม่มีความละอายต่อบาป
(3) ไม่หวั่นไหวต่อโลกธรรม 8 (4) ไม่ลุอำนาจแก่อคติ 4
17. คุณธรรมของหมอนวดที่นอกเหนือจากการปฏิบัติตามจรรยาแพทย์แล้ว มีอะไรบ้าง
(1) ไม่หลอกลวงผู้ป่วย (2) ไม่พูดจาโอ้อวด
(3) ไม่เจ้าชู้ (4) ถูกทุกข้อ
18. จรรยาบรรณด้านการนวดในข้อใดที่ต่างจากการผดุงครรภ์แผนโบราณ
(1) มีเมตตาจิตต่อคนไข้ (2) ไม่มีสันดานมัวเมา
(3) มีความอ่อนน้อมถ่อมตน (4) มีสติใคร่ครวญเหตุผล
19. ปรึกษาบุคคลที่มีความชำนาญกว่า จัดอยู่ในจรรยาบรรณวิชาชีพการแพทย์แผนไทยในสาขาใด
(1) ผดุงครรภ์แผนไทย (2) เวชกรรมแผนไทย
(3) เภสัชกรรมแผนไทย (4) การนวดไทย
20. น้ำหนึ่งอายุ 25 ปี มีอาการเป็นไข้ ตัวร้อน กระสับกระส่าย จัดเป็นอายุสมุฏฐานช่วงใด
(1) มัชฉิมวัย เจ็บป่วยด้วยเสมหะเป็นต้นวาตะเป็นที่สุด
(2) มัชฉิมวัย ปิตตะเป็นเจ้าเรือน มีกำลัง 12 องศา
(3) มัชฉิมวัย เจ็บป่วยด้วยปิตตะเป็นต้น เสมหะเป็นที่สุด
(4) ปัจฉิมวัย เจ็บป่วยด้วยปิตตะเป็นต้น เสมหะเป็นที่สุด
21. กาลสมุฏฐานวาโยพิกัดพิกัดวาตะกระทำอยู่ในช่วงเวลาใด
(1) 06.00-10.00 น. 18.00-22.00 น. (2) 10.00-14.00 น. 22.00-02.00 น.
(3) 11.00-14.00 น. 23.00-02.00 น. (4) 14.00-18.00 น. 02.00-06.00 น.
22. . นายราบมีอาการเป็นหวัด คัดจมูกน้ำมูกไหล ในวันที่ 13 แรม 4 ค่ำ เดือน 12 จัดเป็นฤดูใด
(1) เหมันตฤดู (2) วสันตฤดู (3) เหมันตฤดู (4) วสันตฤดู
23. สมุฏฐานอาโปธาตุพิกัด เป็นที่ตั้งแห่งทวาทศอาโป ประกอบด้วย
(1) โลหิตตัง-เขโฬ-ศอเสมหะ (2) ศอเสมหะ-อุระเสมหะ-เขโฬ
(3) ศอเสมหะ-อุระเสมหะ-คูถเสมหะ (4) อุระเสมหะ-คูถเสมหะ-โลหิตตัง
24. พระคัมภีร์สมุฏฐานวินิจฉัย เป็นคัมภีร์ที่กล่าวถึงเรื่องใด?
(1) กาฬ ๕ ประการ (2) กระษัย ๒๖ จำพวก
(3) พิกัดสมุฏฐาน ๔ ประการ (4) โลหิตระดู
25. มิจฉาญาณแพทย์หมายถึงอะไร
(1) แพทย์แผนไทย (2) แพทย์ชนบท (3 ) แพทย์ที่รู้แจ้ง (4) แพทย์ที่มิรู้แจ้ง
26. ข้อใดต่อไปนี้ผิด
(1) ปฐมวัย คือวัยตั่งแต่แรกเกิดถึง ๑๖ ปี (2) มัชฌิมวัย มีปิตตะเป็นเจ้าเรือน
(3) ปัจฉิมวัย นับตั้งแต่อายุ ๓๔ ปีขึ้นไป (4) ถูกทุกข้อ
27. ในฤดู๓ เหมันตฤดูมีสมุฏฐานใดเป็นเหตุให้การเจ็บป่วย
(1) ปิตตะสมุฏฐาน (2) วาตะสมุฏฐาน
(3) เสมหะสมุฏฐาน (4) เสมหะเจือปิตตะสมุฏฐาน
28. นับตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๔ ไปจนถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ คือฤดูใด
(1) เหมันตฤดู (2) วัสสันตฤดู (3) คิมหันตฤดู (4) วัสสานสมุฏฐาน
29. ตั้งแต่ย่ำค่ำถึง ๔ทุ่ม (๑๘.00 – ๒๒.00) มีพิกัดใดเป็นตัวกระทำให้เกิดความเจ็บปวด
(1) วาตะเป็นตัวกระทำ (2) เสมหะเป็นตัวกระทำ
(3) ปิตตะเป็นตัวกระทำ (4) ปิตตะและเสมหะเป็นตัวกระทำ
30. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวประวัติบรมครูแพทย์แผนไทย
(1). หมอชีวกโกมารภัจจ์ เป็นบุตรบุญธรรมของพระเจ้าพิมพิสาร
(2). พระเจ้าพิมพิสารปกครองอยู่ในกรุง มคธ แห่งแคว้น ราชคฤห์
(3). หมอชีวกโกมารภัจจ์ ไปศึกษาวิชาแพทย์ที่สำนัก ทิศาปราโมกข์ เมือง พาราณสี
(4.) หมอชีวกโกมารภัจจ์ทรงใช้เวลาในการศึกษาวิชาแพทย์เป็นเวลา ๗ ปีซึ่งปกติใช้เวลาศึกษา
ตามปกติเป็นเวลา ๑๗ ปี
32.ข้อใดกล่าวถึงประวัติการแพทย์แผนโบราณได้ไม่ถูกต้อง
(1)ก่อนสมัยสุโขทัย จากศิลาจารึกของอาณาจักรขอม ได้จารึกในปี๑๗๒๕-๑๗๒๙.
ซึ่งตรงกับสมัยใด พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗
(2) อโรคยาศาลา ถูกสร้างโดย พ่อขุนรามคำแหง. มีจำนวนเท่าใด ๑๐๒ แห่ง
(3). ในสมัยขอมมีพิธีกรรมบวงสรวง พระไภศัชยคุรุไวทูรย์ประภา เพื่อบูชาด้วยอาหารและยา
ตามความเชื่อของพุทธศาสนานิกายมหายาน
(4) ปัจจุบัน อโรคยาศาลาที่ที่ยังเหลือประสาทที่สมบูรณ์ที่สุดคือ กู่บ้านเขว้า จังหวัดมหาสารคาม
33.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับประวัติการแพทย์แผนโบราณ
(1) ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ มีการรวบรวมตำรับยาต่างๆ ขึ้น เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ เรียกตำรา พระโอสถพระนารายณ์
(2). การแบ่งหมอออกเป็นหมอหลวง และหมอราษฎร์ หรือหมอเชลยศักดิ์ เกิดขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
(3). พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงปฏิสังขรณ์วัดโพธาราม
(4) ในปีพ.ศ. 2395 รัชกาลที่ 2 ทรงให้ตรากฎหมายพนักงานโอสถถวาย
34. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับประวัติการแพทย์แผนโบราณ
(1) ในสมัยรัชกาลที่ ๔ มีการจารึกตำรายา ไว้ในแผ่นศิลาวัดราชโอรสาราม
(2) มิชชันนารีชาวฝรั่เศสได้ นำวิธีการแพทย์ตะวันตกมาใช้ในประเทศสยาม เกี่ยวกับการปลูกฝี
ป้องกันไข้ทรพิษ
(3). การใช้ยาเม็ดควินินรักษาไข้จับสั่น เกิดครั้งแรกเมื่อสมัยรัชกาลที่ ๓ โดยนายแพทย์เดนนิช บลัดเลย์
(4). สูติกรรมสมัยใหม่ได้เข้ามาในสยามประเทศในสมัยรัชกาลที่ ๕ แต่ไม่ได้รับความนิยม
35. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการแพทย์แผนโบราณ
(1). โรงพยาบาลศิริราชถูกจัดตั้งขึ้นในปีพ.ศ. 2431
(2). ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ พิมพ์ขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2447
(3). ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ แต่งขึ้นโดย หมอพร
(4). ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการยกเลิกวิชาการแพทย์แผนไทย โดยมี ประกาศกฎหมายใดมาบังคับ พ.ร.บ. ควบคุมการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2466
36. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการแพทย์แผนโบราณ
(1) กฎหมายเสนาบดี ได้แบ่งการประกอบโรคศิลปะออกเป็นแผนปัจจุบัน และแผนโบราณ เกิดขึ้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
(2). มูลนิธิที่มาฟื้นฟูการแพทย์ปริญญาในประเทศไทยคือ มูลนิธิลอกกี้ เฟลเลอร์
(3). หลักสูตรแพทย์แผนโบราณประยุกต์ ในอายุรเวทวิทยาลัย มีหลักสูตร ๓ ปี
(4) บิดาของการแพทย์แผนไทยประยุกต์คือ นายแพทย์ อวย เกตุสิงห์
37. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการแพทย์แผนโบราณ
(1). บิดาแห่งการแพทย์แผนโบราณคือ พระองค์เจ้าอาภากร เกียรติวงศ์
(2.) “พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์” เป็นพระนามเดิมของพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์
(3) “พระบิดาแห่งกองทัพเรือไทย” คือพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์
(4) หมอพร ทรงเขียนตำรายาแผนโบราณลงในสมุดข่อย ด้วยฝีพระหัตถ์พระองค์ เขียนเสร็จในปีใด
พ.ศ.๒๔๕๘ และทรงตั้งชื่อตำราที่พระองค์เขียนว่า พระคัมภีร์วรโยคสาร
38. ข้อใดกล่าวได้ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการแพทย์แผนโบราณ
(1). หมอพร ซึ่งเป็นพระราชสมัญญานามของท่านกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ด้วยเพราะพระองค์ทรงเป็นหมอยาไทย รักษาประชาชนด้วยน้ำพระทัยโอบอ้อมอารี
(2). การแพทย์แผนไทยเป็นสายใยแห่งวัฒนธรรม มีอิทธิพลอยู่ในทุกช่วงวัยของชีวิตเช่น การบูชาแม่ซื้อ การตัดสายสะดือ การเตรียมอู่สำหรับเด็กเกิดใหม่
(3) ตามโบราณมารดาหลังคลอด คนในครอบครัวจะนำไม้ไผ่มาล้อมบ้านเพื่อป้องกันสัตว์ร้าย
(4.) ใบหนาด มีความเชื่อตามโบราณว่าช่วยป้องกันผีร้าย
39. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการแพทย์แผนโบราณ
(1) การนำเด็กแรกเกิดมานอนในกระด้งพร้อมกับสมุดดินสอ ตามโบราณมีความเชื่อว่าทำให้เด็ก
เลี้ยงง่ายโตเร็ว
(2) การผูกสายสิญจน์ที่ข้อมือเด็ก ตามโบราณมีความเชื่อว่าจะช่วยให้เด็กที่สุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง
(3). การอยู่ไฟในสมัยโบราณมารดาหลังคลอดจะอาบน้ำต้มสมุนไพร เพื่อชำระล้างร่างกายให้สะอาด และทาตัวด้วยขมิ้นเพื่อประโยชน์ รักษาอาการอักเสบที่ผิวหนัง และบำรุงผิวพรรณ
(4.) ตามโบราณมีความเชื่อเรื่องการอยู่ไฟหลังคลอดว่าทำให้มารดาหลังคลอดมีสุขภาพแข็งแรง สร้างความอบอุ่นให้ร่างกาย ความร้อนช่วยกระตุ้นการหดตัวของมดลูก ช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็ว
40. ข้อใดเป็นความหมายที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับคำว่า เบญจขันธ์
(1) คำว่า “รูป” หมายถึง กาย ส่วนประกอบที่มองเห็นสามารถจับจ้องได้
(2) คำว่า “เวทนา” หมายถึง ความรู้สึก สุข ทุกข์ หรือเฉยๆ จากการที่สายตาไปกระทบ หรือสัมผัส (ร้อน-เย็น)
(3) “การจำได้ จากสัญลักษณ์ หมายรู้ว่าจำได้” เป็นความหมายของคำว่า “ สัญญา”
(4). “องค์ประกอบทางจิต จิตจะดีจะชั่ว หรือเป็นกลางๆ ได้ ปรุงแต่งจิต” เป็นความหมายของคำว่า “วิญญาณ”
41. “ผู้ที่รูปร่างสูงใหญ่ ผิวค่อนข้างคล้ำ ผมดกดำ เสียงดังฟังชัด ข้อกระดูกแข็งแรง กระดูกใหญ่ น้ำหนัก
ตัวมาก ล่ำสันอวัยวะสมบูรณ์” ลักษณะรูปร่างนี้ เป็นลักษณะของผู้ที่มีธาตุเจ้าเรือนอะไร
(1) ธาตุดิน (2) ธาตุน้ำ (3) ธาตุลม (4) ธาตุไฟ
42. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการรับประทานอาหารตามธาตุเจ้าเรือนเพื่อดูแลสุขภาพ
(1). ผู้ที่มีธาตุน้ำเป็นธาตุเจ้าเรือน ควรรับประทานอาหารรส เปรี้ยว ขม หรือเมาเบื่อ
(2). ผู้ที่มีธาตุดินเป็นธาตุเจ้าเรือน ควรรับประทานอาหารรส ฝาด เผ็ด เค็ม เปรี้ยว
(3) ผู้ที่มีธาตุลมเป็นธาตุเจ้าเรือน ควรรับประทานอาหาร รส เผ็ดร้อน สุขุม
(4). ผู้ที่มีธาตุไฟเป็นธาตุเจ้าเรือนควรหลีกเลี่ยงรับประทานอาหารรส จืดเย็น
43. ผู้ที่มีธาตุเจ้าเรือนใดที่มีความรู้สึกทางเพศดีที่สุด
(1) ธาตุดิน (2) ธาตุน้ำ (3) ธาตุลม (4) ธาตุไฟ
44. ข้อใดหมายถึงธาตุไฟทั้งหมด
(1) ปริทัยหัคคี,ปริณามัคคี,สันตัปปัคคี (2) ชิรณัคคี,อังคมังคานุสารีวาตา,ยกนัง
(3)ปริณามัคคี,ชิรณัคคี,อุทธังคมาวาตา, (4) สันตัปปัคคี,ชิรณัคคี, มัตถเกมัตถลุงคัง
45. ข้อกล่าวถึงฤดูสมุฏฐานได้ถูกต้อง
(1) ในฤดูร้อน (คิมหันตฤดู) มนุษย์มักเจ็บป่วยด้วยธาตุไฟ
(2) ในฤดูฝน (วสันตฤดู) มนุษย์มักเจ็บป่วยด้วยธาตุน้ำ
(3) ในฤดูหนาว (เหมันตฤดู) มนุษย์มักเจ็บป่วยด้วยธาตุลม
(4) ถูกทุกข้อ
46.ข้อใดกล่าวถึงอายุสมุฏฐานได้ถูกต้อง
(1) ในปฐมวัยมนุษย์มักเจ็บป่วยด้วยธาตุ ธาตุน้ำ (2) ในมัจฉิมวัย มนุษย์มักเจ็บป่วยด้วยธาตุลม
(3) ในปัจฉิมวัย มนุษย์มักเจ็บป่วยด้วยธาตุไฟ (4) ถูกทุกข้อ
47. ข้อใดกล่าวถึงประเทศสมุฏฐานได้ไม่ถูกต้อง
(1) ผู้ที่อยู่ในประเทศร้อน มักเจ็บป่วยด้วยธาตุไฟ (2) ผู้ที่อยู่ในประเทศเย็น มักเจ็บป่วยด้วยธาตุน้ำ
(3)ผู้ที่อยู่ในประเทศอุ่น มักเจ็บป่วยด้วยอาโปธาตุ (4)ผู้ที่อยู่ในประเทศหนาว มักเจ็บป่วยด้วยปถวีธาตุ
48. ข้อใดกล่าวถึงอิทธิพลของกาลสมุฏฐานได้ถูกต้อง
(1) ช่วงเวลา 06.00 – 10.00 น. มนุษย์มักเจ็บป่วยด้วยธาตุลม
(2) ช่วงเวลา 10.00 – 14.00 น. มนุษย์มักเจ็บป่วยด้วยธาตุน้ำ
(3) ช่วงเวลา 02.00 – 06.00 น. มนุษย์มักเจ็บป่วยด้วยธาตุลม
(4) ช่วงเวลา 00.00-02.00 น. มนุษย์มักเจ็บป่วยด้วยธาตุดิน
49. ข้อใดกล่าวถึงอิทธิพลของจักราศรีที่ทำให้มนุษย์เจ็บป่วยได้ถูกต้อง
(1) ในราศีกรกฎ มักเจ็บป่วย บริเวณอก (2) ในราศีตุลย์ มักเจ็บป่วย บริเวณ ท้องบน
(3) ในราศีธนู มักเจ็บป่วยบริเวณสะโพก (4) ในราศีพิจิก มักเจ็บป่วยบริเวณเข่า
50. ข้อใดไม่เป็นพฤติกรรมที่เป็นมูลเหตุก่อโรค ๘ ประการ
(1) อดข้าว อดน้ำ (2) กลั้นอุจจาระ,ปัสสาวะ
(3) มีโมหะมากเกินไป (4) ความเศร้าโศกเสียใจ
51. ข้อใดไม่ใช่สาขาที่ประกอบโรคศิลปะตามพ.ร.บ. การประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒ ในปัจจุบัน
(1) สาขาแก้ไขความผิดปกติของการสื่อความหมาย,สาขาทัศนมาตรศาสตร์
(2) สาขาเทคโนยีหัวใจและทรวงอก,สาขาการแพทย์แผนจีน
(3) สาขากายอุปกรณ์,สาขากิจกรรมบำบัด
(4) สาขารังสีเทคนิค,สาขาจิตวิทยาคลินิก
52. กองการประกอบโรคศิลปะ อยู่ในสังกัดของกรมใดในกระทรวงสาธารณะสุข
(1) กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
(2) กรมการแพทย์
(3) กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
(4) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
53. การเพิ่มสาขาการประกอบโรคศิลปะ ตาม พ.ร.บ. การประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒ ใช้กฎหมายใด
(1) ประกาศกระทรวง (2) พระราชกำหนด (3)กฎกระทรวง (4) พระราชกฤษฎีกา
54.นายชำนาญ เชี่ยวดี เป็นเภสัชกรไทย แต่เป็นบุคคลล้มละลาย นายชำนาญไม่สามารถกระทำข้อใดได้
(1) เป็นกรรมการการประกอบโรคศิลปะ
(2) เป็นกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทย
(3) อนุกรรมการการประกอบโรคศิลปะ
(4) เป็นอนุกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทย
55. นายยอด สันสูงเนิน เป็นคนพิการตาบอด ถ้านายยอดต้องการขอขึ้นทะเบียนและรับในอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทย์แผนไทย จะกระทำได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
(1) ได้ เพราะคณะกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทยเป็นผู้ตัดสินชี้ขาดคุณสมบัติ
(2) ได้ เพราะคณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะเป็นผู้ตัดสินชี้ขาดคุณสมบัติ
(3) ไม่ได้ เพราะกฎหมายห้ามมิให้ผู้มีร่างกายทุพพลภาพประกอบโรคศิลปะ
(4) ไม่ได้ เพราะ กฎหมายห้ามมิให้ผู้ที่มีร่างกายพิการประกอบโรคศิลปะ
56. บุคคลใดมีสิทธิได้รับใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะจากคณะกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทย
(1) นาย ก. ได้มอบตัวศิษย์และได้รับการอบรมจากนาย ข. ซึ่งเป็นครูผู้รับมอบตัวศิษย์ตามเงื่อนไขและหลักเกณฑ์ ของคณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะ
(2) นาย เขียว เข้าศึกษาในสถาบันการศึกษาแห่งหนึ่งที่คณะกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทยรับรองหลักสูตรและสถาบันการศึกษา
(3) นายแดง เป็นหมอพื้นบ้านที่ชำนาญด้านการนวดไทย และได้ผ่านการรับรองจากคณะอนุกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทย
(4) ทุกคนที่กล่าวมามีสิทธิได้รับใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะ
58. นางสาวสุดสวย แสนดี ถูกนายหล่อ สุดเท่ห์ ซึ่งเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทย ประเภท เวชกรรมไทย ล่วงเกินในระหว่างที่เข้ารับบริการทางการแพทย์กับนาย หล่อ เมื่อวันที่๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ นางสาวสุดสวย เป็นผู้เสียหายจะต้องทำเรื่องกล่าวหา นายหล่อ ต่อคณะกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทยอย่างช้าที่สุดเมื่อไร
(1) วันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (2) วันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
(3) วันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ (4) วันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
59. ผู้ประกอบวิชาชีพหรือผู้ประกอบโรคศิลปะใดที่ไม่สามารถขออนุญาตเป็นผู้ดำเนินการสถานพยาบาลได้
(1) ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกร
(2) ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลและผดุงครรภ์
(3) ผู้ประกอบโรคศิลประสาขาการแพทย์แผนไทยประเภทผดุงครรภ์ไทย
(4) ผู้ประกอบวิชาชีพกายภาพบำบัด
60. ในปัจจุบันคณะกรรมการสถานพยาบาล ส่วนผู้แทนที่มาจากผู้ประกอบวิชาชีพที่สภาวิชาชีพแนะนำ มีจำนวนเท่าไร
(1) ๔ คน (2) ๖ คน (3) ๗ คน (4) ๙ คน
61. คณะกรรมการสถานพยาบาล ตามข้อ 60 มีวาระดำรงตำแหน่งอย่างไร
(1) ๒ปี (2) ๓ ปี (3) กฎหมายไม่ได้กำหนดไว้ (4) ๑ ปี
62. ป้าเช็ง ถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้เปิดสถานพยาบาลโดยไม่ได้รับอนุญาต หากศาลพิพากษาว่ามีความผิดจริง ตามกฎหมายสถานพยาบาล ป้าเช้งจะอาจได้รับโทษอย่างไร
(1) โทษจำคุกไม่เกิน ๑ ปีหรือปรับไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(2) โทษจำคุกไม่เกิน ๒ ปี หรือปรับไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(3) โทษจำคุกไม่เกิน ๓ ปี หรือปรับ ไม่เกิน ๓๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(4) โทษจำคุกไม่เกิน ๓ ปีหรือปรับไม่เกิน ๖๐,๐๐๐ บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
63. นายสมชาย ชาตรี เป็นโรคเท้าช้าง และอยู่ในระยะติดต่อและน่ารังเกียจ นายสมชายจะขอรับอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล ประเภทที่ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนได้หรือไม่ เพราะอะไร
(1)ไม่ได้ เพราะเป็นโรคที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณะสุขประกาศห้ามไว้ในราชกิจจานุเบกษา
(2) ไม่ได้ เพราะ เป็นโรคที่คณะกรรมการสถานพยาบาลประกาศห้ามไว้ในราชกิจจานุเบกษา
(3) ได้ เพราะไม่ใช่โรคที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณะสุขประกาศห้ามไว้ในราชกิจจานุเบกษา
(4) ได้ เพราะไม่ใช่โรคที่คณะกรรมการสถานพยาบาลประกาศห้ามไว้ในราชกิจจานุเบกษา
64. ความผิดที่ถูกลงโทษด้วยการจำคุกตาม พ.ร.บ. สถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ คณะกรรมการเปรียบเทียบปรับสามารถเปลี่ยนเป็นค่าปรับแทนได้ในกรณีใด
(1) กรณีโทษจำคุกไม่เกิน ๖ เดือน (2) กรณีโทษจำคุกไม่เกิน ๑ ปี
(3) กรณีโทษจำคุกไม่เกิน ๒ ปี (4) ถูกทุกข้อ
65. ข้อใดไม่ใช่ยา ตามความหมายของ พ.ร.บ .ยา พ.ศ. ๒๕๑๐
(1) วัตถุที่รับรองไว้ในตำรายาที่คณะรัฐมนตรีประกาศ
(2) วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรค หรือความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์
(3) วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์ หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป
(4) วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้าง หรือการกระทำหน้าที่ใดๆ ของร่างกายของมนุษย์หรือสัตว์
66. นายชม ชอบชิด ต้องการเปิดร้านขายยาแผนโบราณที่อำเภอปากเกร็ด จ.นนทบุรี นายชมจะต้องทำอย่างไร
(1) นายชมต้องขออนุญาตกับเลขาธิการอาหารและยา ที่กระทรวงสาธารณะสุข
(2) นายชมต้องขออนุญาตกับผู้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรี
(3) นายชมต้องขออนุญาตกับผู้ว่าการกรุงเทพมหานคร
(4) นายชมต้องขออนุญาตกับคณะกรรมการยา
67. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับกรรมการยาตามพ.ร.บ. ยา พ.ศ. ๒๕๑๐
(1)กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ต้องเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ ไม่น้อยกว่า ๓ คน
(2) กรรมการส่วนที่เป็นผู้แทนจากคณะบดีคณะเภสัชศาสตร์มีจำนวน ๒ คน
(3) ปลัดกระทรวงสาธารณะสุขเป็นประธานกรรมการยา
(4) รองเลขาธิการอาหารและยาเป็นเลขานุการและกรรมการ
68. ป้าเช็ง โฆษณาขายน้ำหมักชีวภาพว่าเป็นยาที่รักษาโรคได้สารพัด และโอ้อวดสรรพคุณเกินความจริง โดยไม่ได้รับอนุญาต ป้าเช็งอาจได้รับโทษสูงสุดเท่าไร
(1) จำคุกไม่เกิน ๓ ปีหรือปรับไม่เกิน ๓๐,๐๐๐ บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(2) ปรับไม่เกิน ๕๐,๐๐๐ บาทและปรับรายวันอีกวันละ ๑๐,๐๐๐ บาทจนกว่าจะหยุดโฆษณา
(3) ปรับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท (4) ปรับไม่เกิน๒๐๐,๐๐๐ บาท
69. ในกรณีใดที่ต้องขอขึ้นทะเบียนยา
(1) ยาที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์และเภสัชเคมีภัณฑกึ่งสำเร็จรูปที่มิใช่ยาบรรจุเสร็จ
(2) ยาสมุนไพร (3) ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ (4) ยาตัวอย่างที่อนุญาตให้ผลิตยา
70. ถ้าป้าเช็ง ต้องการขออนุญาตขึ้นทะเบียนน้ำหมักชีวภาพให้เป็นยาและให้ชื่อ “ยาน้ำมหาบำบัด” ป้าเช็งจะขึ้นทะเบียนยานี้ได้หรือไม่ เพราะอะไร
(1) ไม่ได้ เนื่องจากใช้ชื่อยาที่แสดงถึงการโอ้อวดสรรพคุณและอาจทำให้เข้าใจผิดจากความจริง
(2) ไม่ได้ เนื่องจากชื่อยาแสดงถึงวัฒนธรรมที่ไม่ดีงามของไทย
(3) ได้ เพราะ ไม่มีกฎหมายห้ามการตั้งชื่อยา
(4) ได้ เพราะ ป้าเช็งมีสถานที่ผลิตยาที่ได้รับอนุญาตการผลิต
แนวข้อสอบการนวดไทย ภาคพิเศษ
แนวข้อสอบ การนวดไทย ภาคพิเศษ
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านั้น
1. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
(1) ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ มีจารึกแผนภาพนวด 60 ภาพบนแผ่นศิลาประดับบนผนัง
ศาลา ราย และรูปหล่อฤาษีดัดตน 80 ท่า พร้อมคำโคลง
(2) สมัยพระบรมไตรโลกนาถ พบหลักฐานจากทำเนียบตำแหน่งข้าราชการฝ่ายพระราช
วัง บวรสถานมงคล ว่ามีข้าราชการในกรมหมอนวด
(3) รัชกาลที่ 5 ทรงโปรดการนวดมาก มีมหาดเล็กและพระสนมที่มีความชำนาญใน
การนวดติดตามเสด็จในการเสด็จประพาสในที่ต่างๆ
(4) ในรัชกาลที่ 3 มีการเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังฤาษีดัดตน ที่ศาลาโถงของวัด
มัชฌิมาวาส (วัดกลาง) จังหวัดสงขลา จำนวน 40 ท่า
(5) ในรัชกาลที่ 7 โปรดเกล้าฯให้ตราพ.ร.บ.ควบคุมการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ.2479
ไม่ระบุสาขาการนวดในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ
2. ตำราการนวดฉบับหลวงเกิดขึ้นในสมัยใด
(1) รัชกาลที่ 4
(2) รัชกาลที่ 5
(3) รัชกาลที่ 6
(4) รัชกาลที่ 7
(5) รัชกาลที่ 8
3. ในสมัยรัชกาลใดที่มีการระบุสาขาการนวดในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ พ.ศ.2475 และ
มีการก่อตั้งสมาคมแพทย์แผนโบราณแห่งประเทศไทย
(1) รัชกาลที่ 5
(2) รัชกาลที่ 6
(3) รัชกาลที่ 7
(4) รัชกาลที่ 8
(5) รัชกาลที่ 9
4. ผู้ถูกนวดมีอาการดังต่อไปนี้ห้ามทำการนวด ยกเว้นข้อใด
(1) มีอาการเคลื่อนไหวลำบาก ข้อผิดรูป หลังได้รับบาดเจ็บ ซึ่งอาจเป็นเพราะ
กระดูกหักหรือข้อเคลื่อน
(2) เป็นโรคเบาหวาน
(3) หลังการผ่าตัด
(4) เป็นโรคติดต่อต่างๆเช่น วัณโรค
(5) เป็นโรคผิวหนังบางชนิด เช่น เป็นแผลเรื้อรัง
5. ก่อนลงมือนวด ผู้นวดควรทำสิ่งใดก่อนเป็นอันดับแรก
(1) จัดท่านวดให้ถูกต้อง
(2) หาตำแหน่งจุดนวดที่ถูกต้อง
(3) แนะนำให้ผู้ถูกนวดหายใจช้าๆลึกๆ มีสมาธิ
(4) ระลึกถึงครูบาอาจารย์
(5) ซักถามอาการเพื่อความแน่ใจอีกครั้ง
6. จุดที่ควรระมัดระวังในการนวดคือข้อใด
A. รักแร้ ขาหนีบ
B. เหนือไหปลาร้า หน้าหู
C. บริเวณแก้ม คาง คอ
(1) A. ถูก
(2) B. ถูก
(3) A. และ B. ถูก
(4) A. และ C. ถูก
(5) A. B. และ C. ถูก
7. ข้อใดเป็นไม่ใช่คุณลักษณะของเส้นประธานสิบ
(1) เป็นเส้นขอดอยู่บริเวณท้องรอบสะดือ
(2) เส้นแต่ละเส้นมีแนวเส้นร่วมของแต่ละเส้นกระจายอยู่ทั่วร่างกาย
(3) เส้นประธานสิบแต่ละเส้น มีลมแล่นอยู่ประจำเส้น
(4) อยู่ลึกลงไปในกล้ามเนื้อ บริเวณต่ำจากสะดือ ประมาณ 2 นิ้ว
(5) เส้นแต่ละเส้นมีแนวเส้นร่วมของแต่ละเส้นกระจายอยู่ทั่วร่างกาย
8. เส้นสุมนามีจุดสิ้นสุดที่บริเวณใด
(1) ปลายลิ้น
(2) โคนลิ้น
(3) ขากรรไกร
(4) โหนกแก้ม
(5) ลำคอ
9. เส้นประธานสิบในข้อใดที่มีการแล่นไปทั่วทั้งร่างกายทั้ง 2 ข้าง
(1) ทุวารี
(2) สหัสรังสี
(3) กาลธารี
(4) อิทา
(5) ทุวารี
10. . เส้นสิขิณี หรือ คิชฌะ เป็นแนวเส้นที่แล่นไปสู่อวัยวะใด
(1) องคชาติ
(2) อวัยวะเพศหญิง
(3) ทวารหนัก
(4) กระเพาะปัสสาวะ
(5) ถูกทั้ง (1) และ (2)
11. ข้อใดเป็นลมประจำเส้นทุวารี
(1) ลมทิพจักษุ
(2) ลมสหัสรังสี
(3) ลมจันทร์
(4) ลมสูญทกลา
(5) ลมจันทกลา
12. เส้นประธานสิบในข้อใด ไม่มีลมประจำเส้น
(1) เส้นสุมนา
(2) เส้นรุชำ
(3) เส้นปิงคลา
(4) เส้นกาลธารี
(5) เส้นสหัสรังษี
13. ข้อใดกล่าวถึงหลักการเบื้องต้นที่เกี่ยวข้องกับเส้นประธานสิบได้ถูกต้อง
A. กายายาวประมาณ1วา หนา1คืบครึ่ง กว้าง3ศอก
B. ลมอันประจำอยู่ภายในห้วงลึก2 องคุลี
C. มีเส้นเอ็นเกี่ยวกระหวัดรัดร่างกายอยู่ประมาณ84000เส้น
D. มีเส้นที่สำคัญเป็นประธานอยู่เพียง10เส้น
(1) A ถูก
(2) B ถูก
(3) AและB ถูก
(4) B และD ถูก
(5) A B และC ถูก
14. ข้อใดไม่ใช่ชื่อลมในเส้นประธานทั้งสิบ
(1) ลมจันทรกะลา
(2) ลมชิวหาสดมภ์
(3) ลมอัคนิวาตคุณ
(4) ลมศุญทะกะลา
(5) ลมจันทร์
15. เส้นสิบท่านพรรณนา ในครรภาเป็นนิไสย
ล้อมสูญพระเมรุ์ไว้ สถิตลึกสักสองนิ้ว
ล้อมเป็นจักร์ทราสูนย์ ดูไพบูลย์ไม่แพลงพลิ้ว
ดุจสายบรรทัดทิว เป็นแนวแถวทอดเรียงกัน
จากบทร้อยกรองข้างต้นนั้น ถ้าแพทย์จะนวดรักษาตามทฤษฎีเส้นประธานสิบจะต้องรู้ประการใด
(1) เส้นประธานสิบนั้นมีส่วนเกี่ยวข้องกับบริเวณท้อง
(2) เส้นประธานสิบนั้นมีส่วนเกี่ยวข้องกับบริเวณท้อง โดยเฉพาะรอบสะดือ
(3) เส้นประธานสิบนั้นมีส่วนเกี่ยวข้องกับบริเวณท้อง โดยเฉพาะรอบสะดือ เรียงตัว
กันเป็นระเบียบ
(4) เส้นประธานสิบนั้นมีส่วนเกี่ยวข้องกับบริเวณท้อง โดยเฉพาะรอบสะดือ เรียงตัวกัน
เป็นระเบียบ มีตำแหน่งแน่นอน
(5) เส้นประธานสิบนั้นมีส่วนเกี่ยวข้องกับบริเวณท้อง โดยเฉพาะรอบสะดือ เรียงตัวกัน
เป็นเส้นตรงตั้งแต่เหนือสะดือไปจรดใต้สะดือ
16. ข้อใด้ถูกเกี่ยวกับสัญญาณท้องจุดที่ 5 บริเวณใต้ลิ้นปี่ เหนือสะดือ 2 นิ้ว
A. จ่ายความร้อนออกทั่วท้อง(ออกเส้นสุมนา) เข้าไขสันหลังออกก้นกบ ออกขาทั้งสองข้าง
B. ห้ามกดในรายที่เป็นอัมพาต จะทำให้เสมหะมากขึ้น เรียกว่า ชิวหาสดมภ์
C. ช่วยปรับสมดุลระบบขับถ่ายและระบบทางเดินอาหาร
D. ตั้งต้นกึ่งกลางท้องเหนือสะดือ2นิ้ว แล่นขึ้นไปทรวงอกถึงลำคอ ไปสิ้นสุดที่โคนลิ้น
เรียกว่า “รากเส้นลิ้น”
(1) AและB ถูก (2) BและC ถูก (3) CและD ถูก (4) A B และC ถูก (5) A B และD ถูก
17. อันเส้นการะทารี ทั้งสี่นี้เมื่อวิการ์
กำเริบให้คิลาน์ ย่อมเย็นชาเหน็บทั้งตัว
มักให้เจ็บเย็นสะท้าน เพราะอาหารแสลงชั่ว
ขนมจีนข้าวเหนียวถั่ว พอใจกินจึงเกิดเป็น
จากบทร้อยกรองข้างต้น หากผู้ป่วยมีอาการปลายมือปลายนิ้วชา ตามทฤษฎีเส้นประธานสิบผู้เป็นแพทย์สมควรนวดรักษาตั้งแต่บริเวณใด เพราะเหตุใด
(1) นวดเฉพาะบริเวณข้อมือและนิ้วมือ เพราะอาการของโรคอยู่บริเวณนี้
(2) นวดตามแนวเส้นกาละทารีตั้งแต่หน้าท้อง สะบัก ต้นแขนจนถึงปลายนิ้วมือ
เพราะเป็นแนวเส้นประธานจะทำให้อาการดังกล่าวทุเลาได้มากขึ้น
(3) นวดพื้นฐานบ่า พื้นฐานแขนด้านในและจุดสัญญาณ พื้นฐานแขนด้านนอกและ
จุดสัญญาณ และสัญญาณไหล่ร่วมด้วย เพราะนอกจากจะช่วยให้เลือดไหลเวียนได้
สะดวกขึ้นแล้วยังเป็นส่วนหนึ่งของเส้นกาละทารีด้วย
(4) นวดตามข้อ (2) และข้อ (3)
(5) นวดตามข้อ (1) ข้อ (2) และข้อ (3)
18. หากผู้ป่วยมีอาการปวดเมื่อยบริเวณต้นขา จะมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับเส้นประธานใดได้บ้าง
A. เส้นกาลทารี
B. เส้นจันทภูสัง และ รุชำ
C. เส้นสหัสรังษี และ เส้นทุวารี
D. เส้นอิทา และ เส้นปิงคลา
(1) A และ B ถูก
(2) A และ C ถูก
(3) C และ D ถูก
(4) A B และ D ถูก
(5) A C และ D ถูก
19. สมมติว่าขณะทำการนวดสัญญาณท้องรักษาโรคดานลม ผู้ป่วยบอกแพทย์ผู้ทำการรักษาว่า
รู้สึกมีเสมหะมากขึ้นในลำคอ ท่านสามารถบอกได้หรือไม่ว่าเป็นเพราะเหตุใด
(1) ได้ เป็นเพราะการนวดสัญญาณท้องจะเกี่ยวข้องเส้นสุมนา ส่งผลให้เกิด
ชิวหาสดมภ์คือเสมหะมากนั่นเอง
(2) ได้ เป็นเพราะผู้ป่วยมีอาการไข้หวัดร่วมด้วย
(3) ได้ เป็นเพราะโรคดานลมจะมีเสมหะมากอยู่เป็นปกติ
(4) ไม่ได้
(5) ไม่มีข้อถูก
20. จากมูลเหตุการณ์เกิดโรคทั้งหมด8ประการ ประการใดที่สมควรปรับปรุง หลีกเลี่ยง หรือระวังมากที่สุด
(1) อาหาร เพราะการรับประทานอาหารผิดสำแดงจะมีผลให้โลหิตเป็นพิษจึงเกิดโรค
(2) อิริยาบถ เพราะการฝืนอิริยาบถทำให้ร่างกายเสียสมดุล ธาตุทั้ง4 แปร
ปรวน กล้ามเนื้อ เอ็นและกระดูกซึ่งเป็นธาตุดินเสื่อมเสีย ธาตุอื่นจึงพังไปด้วย
(3) อากาศ เพราะอาการที่ร้อนหรือเย็นมากเกินไปทำให้ระบบการหายใจผิดปกติ
ไปมี ผลต่อการดำรงชีวิต
(4) อดกิน อดนอน เพราะทำให้ร่างกายอ่อนเพลีย
(5) กลั้นอุจจาระ กลั้นปัสสาวะ เพราะทำให้ของเสียไม่ถูกขับออก พิษจึงถูก
ดูดซึมกลับเข้าระบบไหลเวียนโลหิต
21. ตามหลักมูลเหตุการเกิดโรค8ประการและกายานามัย เราต้องรับประทานอาหารอย่างไรจึงจะถูกต้อง
A. กินอาหารให้ถูกกับธาตุเจ้าเรือน
B. กินอาหารแต่พอเหมาะ
C. มีสติในการกิน
D. กินอาหารให้ถูกกับสมุฏฐานต่างๆที่มีผลต่อสุขภาพ
(1) A ถูก
(2) B ถูก
(3) C ถูก
(4) D ถูก
(5) A B C และ D ถูก
22. ข้อใดถูกตามแนวคิดการรักษาแบบองค์รวมด้านกายานามัย จิตตานามัย และชีวิตานามัย
A. การออกกำลังกายด้วยโยคะ
B. กินอาหารให้ถูกกับธาตุ
C. ฝึกสมาธิให้จิตเข้มแข็ง มีพลัง เกิดปัญญา
D. ดำรงชีวิตด้วยทางสายกลาง รักษาศีล5ให้บริสุทธิ์
(1) AและB ถูก
(2) BและD ถูก
(3) CและDถูก
(4) B C และD ถูก
(5) A B C และ D ถูก
23. . ผู้ป่วยชายไทยคู่ อายุ46ปี มาพบแพทย์ด้วยถูกทุบ ถอง โบย ตี ทำให้มีอาการไข้สูง ปวดเมื่อยและช้ำ
ทั่วร่างกาย โดยเฉพาะบริเวณท้อง ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับอาการเจ็บป่วย
A. ต้องดูแลแนะนำไม่ให้ผู้ป่วยเศร้าโศกเสียใจ เพราะอาจทำให้น้ำเลี้ยงหัวใจเหือดแห้ง จะทำให้
เกิดโรคจากความเศร้าโศกเสียใจ
B. ธาตุดินซึ่งเป็นธาตุที่ตั้งแห่งธาตุอื่นทั้งปวงถูกกระทบก่อน ธาตุอื่นจึงพังตามไปด้วย
C. จุดกำเนิดเส้นประธานสิบบริเวณท้องถูกกระทบจึงมีอาการให้เจ็บป่วยไปทั่วร่างกาย
D.เรียกว่า ปัจจุบันกรรม คือธาตุทั้ง4มิได้ล่วงไปตามลำดับ
(1) AและB ถูก
(2) BและD ถูก
(3) CและDถูก
(4) A B และC ถูก
(5) A B C และ D ถูก
24. ผู้ป่วยหญิงไทยคู่ อายุ25ปี อาชีพเลขานุการ มีอาการปวดศีรษะไมเกรน เคยรับรักษาโดยการนวด
บ่า สะบักและโค้งคอแล้วมีอาการบ่าช้ำระบมจึงปฏิเสธการนวดมาตลอด ในฐานะที่ท่านเป็น
แพทย์แผนไทยจะรักษาป่วยรายนี้ด้วยวิธีการใด
A. แนะนำให้ผู้ป่วยเปลี่ยนอิริยาบถขณะนั่งทำงานและแนะนำให้ทำสมาธิเพื่อให้จิตสงบและมีพลัง
B. พิจารณาการใช้ยาสมุนไพรสูตรตำรับต่างๆ
C. ใช้ทฤษฎีเส้นประธานสิบในการนวดรักษา โดยนวดรักษาตามแนวเส้นประธานเดียวกัน
D. แนะนำให้ไปพบแพทย์แผนปัจจุบันเพื่อตรวจร่างกายอย่างละเอียด
(1) A ถูก
(2) B ถูก
(3) C ถูก
(4) A B และC ถูก
(5) A B C และ D ถูก
25. ข้อใดกล่าวผิดในการนวดพื้นฐานขา
A. เริ่มจากผู้นวดวางนิ้วหัวแม่มือชิดกระดูกสันหน้าแข้ง บริเวณจุดนาคบาทเป็นจุดที่ 1 และกดจุดที่ 2 เรียงต่อ จากจุดที่ 1
B. จากนั้นวางนิ้วหัวแม่มือคู่ กดต่อจากจุดที่ 2 โดยกดชิดกระดูกสันหน้าแข้ง กดเรียงนิ้วต่อเนื่องกันจนไปถึง ข้อเท้า
C. หลังจากกดถึงข้อเท้าแล้ว ใช้นิ้วหัวแม่มือคู่ กดบริเวณเหนือเข่า ต่อเนื่องกันไปจนถึงหัวตะคาก พลิกมือกลับ แล้วกดลงบริเวณกล้ามเนื้อสะโพก ต่อเนื่องกันไปจนถึงบริเวณขาท่อนล่างด้านข้างจนถึงตาตุ่มด้านนอก เว้นช่วงบริเวณข้อเข่า แล้วคลายหลังเท้า
D. เปิดประตูลม โดยให้ผู้นวดเอาปลายนิ้วก้อยแตะบริเวณหัวตะคากเฉียงมือ 45 องศา ลงน้ำหนักที่บริเวณอุ้ง มือ กดลงไป โดยใช้เวลาประมาณ 30 – 40 วินาที แล้วยกมือขึ้น
(1) A
(2) B
(3) C
(4) D
(5) C และ D
26. ข้อใดกล่าวผิด
A. การนวดพื้นฐานขานอก เริ่มจากผู้นวดวางนิ้วหัวแม่มือคู่ กดลงบนจุดที่ 1 ซึ่งเป็นจุดสูงสุด
ของบริเวณสะโพก จากนั้นหงายมือ กดลงบนจุดที่ 2 บริเวณข้อพับกระดูกสะโพก แล้วจึง
คว่ำมือ กดลงบนจุดที่ 3 บริเวณรอยบุ๋ม ข้อ ต่อกระดูกสะโพก
B. จากนั้นนวดคลายกล้ามเนื้อต้นขา โดยใช้หัวแม่มือกดคลายตั้งแต่โคนขาจนถึงเหนือข้าง
เข่า จากนั้นวางนิ้วหัวแม่มือ
คู่ กดลงบริเวณกึ่งกลางขาท่อนล่าง ต่อเนื่องกันไปจนถึงบริเวณตาตุ่มด้านนอก
C. การนวดพื้นฐานขาด้านใน เริ่มจากใช้นิ้วหัวแม่มือคู่กดลงบริเวณกึ่งกลางขาด้านในท่อนบน
โดยห่างจากใต้ก้นย้อย ประมาณ 2 นิ้ว แล้วกดเรียงนิ้วต่อเนื่องกันไปถึงบริเวณเหนือข้อเข่า
ด้านใน จากนั้นกดลงบริเวณกล้ามเนื้อน่อง โดย กดชิดกับกระดูกสันหน้าแข้งด้าน
ใน ต่อเนื่องกันไปจนถึงบริเวณตาตุ่มด้านใน
(1) A
(2) B
(3) C
(4) A และ B
(5) B และ C
27. ข้อใดกล่าวถูกเกี่ยวกับการนวดพื้นฐานหลัง
A. เริ่มจากผู้นวดวางนิ้วหัวแม่มือบริเวณกระดูกสันหลังตรงกับแนวหัวตะคาก
B. กดเรียงนิ้วต่อเนื่องกันจนถึงต้นคอ กดด้วยน้ำหนัก 50 ปอนด์
C. จากนั้นกดย้อนกลับทิศทางเดิม จากต้นคอถึงบริเวณเอว แต่เพิ่มน้ำหนักที่กดเป็น 70 ปอนด์
D. การนวดพื้นฐานหลังท่านั่ง จะใช้ท่านวดหนุมานถวายแหวน
(1) A
(2) B
(3) C
(4) D
(5) ถูกทุกข้อ
28. ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับการนวดพื้นฐานแขน
A. การนวดพื้นฐานแขนในท่านอน เริ่มจากผู้นวดใช้อุ้งมือกดลงบริเวณกึ่งกลางแขนท่อนบน โดยมืออีกข้างหนึ่งจับชีพจรที่ข้อมือ
B. การนวดพื้นฐานแขนในท่านั่ง เริ่มจากผู้นวดใช้นิ้วหัวแม่มือกดลงบริเวณข้อพับแขนแขนด้านใน แล้วกดเรียงนิ้วต่อเนื่องไปจนถึงข้อมือ
C. การนวดพื้นฐานแขนนอกท่านอน เริ่มจากผู้นวดนั่งคุกเข่าหันหน้าไปด้านศีรษะผู้ป่วย ใช้นิ้วหัวแม่มือกดบริเวณท่อนบน แล้วกดเรียงนิ้วต่อเนื่องไปจนถึงบริเวณเหนือข้อศอก จากนั้นใช้นิ้วหัวแม่มือวางคู่กัน บริเวณต่ำกว่าข้อศอก กดเรียงนิ้วต่อเนื่องไปจนถึงบริเวณข้อมือ
(1) A
(2) B
(3) C
(4) B และ C
(5) A และ C
29. ข้อใดกล่าวถูกเกี่ยวกับการนวดพื้นฐานหัวไหล่
A. ผู้นวดนั่งท่าพรหมสี่หน้าด้านข้างผู้ป่วย
B. ใช้นิ้วหัวแม่มือคว่ำลง กดลงที่ร่องข้อต่อกระดูกหัวไหล่ประมาณกึ่งกลางสะบัก มืออีกข้างจับข้อมือผู้ป่วยยกขึ้นประมาณระดับสายตา
C. ไม่ควรกดแรง เพราะมีเส้นประสาทที่ไปเลี้ยงแขน ถ้ากดแรงอาจทำให้แขนไม่มีแรง
D. ผู้ที่หัวไหล่หลุด เคลื่อน สามารถนวดได้
(1) A และ B
(2) B และ C
(3) C และ D
(4) A B และ C
(5) B C และ D
30. ข้อใดกล่าวถูก
A. การนวดพื้นฐานบ่า ผู้นวดยืนท่าหกสูง หกกลาง และหกต่ำ
B. การนวดพื้นฐานบ่า ผู้นวดวางนิ้วหัวแม่มือคู่ กดบนแนวกล้ามเนื้อบ่าเริ่มจากชิดร่องกระดูกหัวไหล่ด้านบน กดไล่ไปจนถึงปุ่มกระดูกต้นคอ ใช้น้ำหนัก 50 ปอนด์ แล้วกดไล่กลับด้วยน้ำหนัก 70 และ 90 ปอนด์
C. การนวดพื้นฐานโค้งคอ ผู้นวดนั่งท่าพรหมสี่หน้าข้างหลังผู้ป่วย
D. การนวดพื้นฐานโค้งคอ ผู้นวดใช้นิ้วทั้งสี่ (นิ้วชี้ กลาง นาง ก้อย) แตะหน้าผากผู้ป่วย แล้วใช้นิ้วหัวแม่มืออีกข้างหนึ่งวางชิดร่องกระดูกต้นคอ ไล่ขึ้นไปจนถึงท้ายทอยน้ำหนัก 50 ปอนด์ ทำ 2 – 3 รอบ
(1) A
(2) B
(3) C
(4) D
(5) ถูกทุกข้อ
31. ข้อใด ไม่ ถูกต้อง
(1 ) ลมปลายปัตคาต เป็นลักษณะของการอั้นลม
(2) ลมปลายปัตคาต เป็นลักษณะของกล้ามเนื้อที่เกิดภาวะเครียดแข็งเป็นก้อนเป็นลำ
หลอดเลือดจะหดตัวหรือแข็งตัว
(3) ลมปลายปัตคาต ทำให้มีอาการปวด บวม แข็งเป็นก้อน และไม่มีความร้อน
(4) ตำแหน่งที่เป็นโรคลมปลายปัตคาต เกิดได้กับกระดูก ข้อกระดูก
(5) ลมปลายปัตคาต สามารถรักษาได้ด้วยการนวด
32. ข้อใด ไม่ใช่ โรคลมปลายปัตคาตที่พบบ่อย
(1 ) ลมปลายปัตคาตบ่า (2) ลมปลายปัตคาตข้อมือ (3) ลมปลายปัตคาตส้นเท้า
(4) ลมปลายปัตคาตข้อศอก (5) ลมปลายปัตคาตข้อเข่า
33. ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 38 ปี อาชีพพนักงานบริษัท มาด้วยอาการปวดบ่า ปวดสะบัก และมีอาการ
หายใจ ขัด หายใจไม่เต็มอิ่ม เป็นมา 2 สัปดาห์ ในฐานะท่านเป็นแพทย์แผนไทย ท่านจะวินิจฉัยว่า
ผู้ป่วยรายนี้เป็นโรคใด
(1 ) ลมปลายปัตคาตสัญญาณ 1 หลัง (2) โรคหัวใจ (3) โรคหอบหืด
(4) ลมปลายปัตคาตสัญญาณ 4 หลัง (5) ลมปลายปัตคาตสัญญาณ 5 หลัง
34. ข้อใด ไม่ใช่ สาเหตุของโรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 1 หลัง
(1 ) เกิดจากความเสื่อมของกระดูกสันหลัง (2) เกิดจากพักผ่อนไม่เพียงพอ
(3) เกิดจากอุบัติเหตุ เช่น หกล้ม กระทบกระแทกบริเวณหลัง (4) เกิดจากการทำงานหนัก
(5) เกิดจากท่าทางอิริยาบถที่ไม่ถูกต้อง เช่น การนั่ง การทรงตัว
35. ข้อใด ไม่ใช่ อาการของโรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 1 หลัง
(1 ) ร้าวชาลงสะโพก ก้นย้อย ต้นขา (2) ปวดใต้ข้อพับเข่า แต่ไม่ต่ำกว่าหัวเข่า
(3) ร้าวชาลงขา ปลีน่อง (4) ปวดเมื่อยหลังช่วงล่าง (5) เข่าทรุด เข่าไม่มีกำลัง
36. ข้อใดเป็นวิธีตรวจทางหัตถเวชกรรมของโรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 3 หลัง
(1 ) ตรวจวัดส้นเท้า ข้างที่เป็นจะยาว (2) งอพับเข่าเป็นเลข 4 กดเข่าลงต้านมือ
(3) ดูแนวกระดูกสันหลังว่า มีคด ทรุด เอียงหรือไม่ (4) ก้มหน้าคางชิดอก
(5) ข้อ 1 และ 3 ถูก
37. ข้อใด ไม่ใช่ คำแนะนำของโรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 1 และ สัญญาณ 3 หลัง
(1) ห้ามบิด ดัด สลัดขา (2) หลีกเลี่ยงอาหารและพฤติกรรมที่ทำให้เกิดโรค
(3) ประคบความร้อนที่หลัง สะโพก ขาด้านในและนอก (4) บริหารร่างกาย เช่น ท่ายืนเขย่งปลายเท้าข้างเดียว
(5) นวดรักษาวันเว้นวัน
38. ข้อใดเป็นขั้นตอนแรก ของสูตรนวดรักษาโรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 4 หลัง
(1) ตรวจก่อนทำการนวด (2) นวดพื้นฐานขา (3) นวดพื้นฐานบ่า
(4) นวดสัญญาณ 4 หัวไหล่ (5) นวดพื้นฐานหลัง
39. ข้อใด ไม่ใช่ ท่าบริหารของโรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 5 หลัง
(1) ท่าก้ม-เงยศีรษะ (2) ท่ามือประสานกดศีรษะลง (3) ท่าโหนรถเมล์
(4) ท่าเกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง ยกศีรษะมองปลายเท้า (5) ท่าแกว่งแขน
40. ข้อใด ไม่ใช่ อาการของโรคลมปลายปัตคาตเส้นโค้งคอ
(1) คอแข็ง ทรงศีรษะไม่อยู่ (2) วิงเวียนศีรษะ คล้ายจะเป็นลม (3) กล้ามเนื้อคอไม่มีกำลัง
(4) ก้ม-เงย หรือเอียงคอ มีอาการปวดตึงต้นคอ (5) ตอบข้อ 1 และ 2
41. สูตรการรักษาโรคใด ที่มีการนวดสัญญาณ 1-5 ขาด้านนอก เน้นสัญญาณ 5 และนวดสัญญาณ 1-5 ขา
ด้านใน เน้นสัญญาณ 2-5
(1 ) โรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 1 หลัง (2) โรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 3 หลัง
(3) โรคลมปลายปัตคาตข้อศอก (4) โรคลมปลายปัตคาตส้นเท้า (5) โรคลมปลายปัตคาตข้อศอก
42. ผู้ป่วยหญิงไทยคู่ อายุ 45 ปี อาชีพแม่ค้า มารับการรักษาที่คลินิกแพทย์แผนไทยด้วยอาการปวด
ข้อศอก ร้าวไปที่หัวไหล่ ปวดร้าวชาลงไปที่แขน ข้อมือ นิ้วมือ เวลากำมือ บิดมือ คว่ำมือ
จะเจ็บในฐานะท่านเป็นแพทย์แผนไทย ท่านจะวินิจฉัยว่าผู้ป่วยรายนี้เป็นโรคใด
(1 ) ลมปลายปัตคาตข้อมือ (2) นิ้วไกปืน (3) ลมปลายปัตคาตข้อศอก (4) ลมปลายปัตคาตสัญญาณ 4 หลัง
(5) หัวไหล่ติด
43. ข้อใด คือ ความหมายของ “ โรคลำบอง ”
(1) เป็นโรคเลือดตกตะกอนตามข้อกระดูก ทำให้ข้อต่ออักเสบ ปวด บวม แดง ร้อน
มีน้ำในข้อ ชนิดขุ่นมันเมือก
(2) เป็นลักษณะของการอั้นลม กล้ามเนื้อเกิดภาวะตึงเครียด แข็งเป็นก้อนเป็นลำ หลอดเลือดก็จะหดตัวหรือแข็งตัว
(3) เป็นโรคที่เกิดจากก้อนเลือดประจำเดือนตกค้าง (เลือดเป็นพิษ)
(4) เป็นโรคที่เกิดจากหลอดเลือดแดงในสมองหดตัว และขยายตัวผิดจังหวะ หดตัวนานเกินไป ทำให้ขาดเลือดไปเลี้ยงสมอง และขยายตัวอย่างรวดเร็วไปกดดันสมอง ทำให้ปวดหัวตามการเต้นของหัวใจ
(5) ไม่มีข้อถูก
44. การตรวจร่างกาย “โรคลำบองสัญญาณหลัง 3” ในข้อใดถูกต้อง
(1) วัดสั้นเท้าข้างที่เป็นจะยาว (2) วัดส้นเท้าข้างที่เป็นจะสั้น (3) งอพับเลข 4 กดเข่าต้านมือ
(4) ตรวจหาจุดเจ็บ มีจุดเจ็บที่ชัดเจนบริเวณสัญญาณ 1 และ 3 (5) ไม่มีข้อถูก
45. ข้อใดเป็นอาการของ “โรคยอกหลังเดี่ยว”
(1) ปวด ตึง เจ็บ บวม อักเสบ ตรงกล้ามเนื้อเอวทั้ง 2 ข้าง ไม่มีอาการร้าวชาไปที่ขา
(2) ปวดมากเมื่อเปลี่ยนอริยบถ จะเจ็บแบบสะดุ้ง ถ้ายืดหลังได้แล้ว เดินได้ดี
(3) นอนเหยียดตรงไม่ได้ ให้นอนหนุนหัวสูง หมอนรองใต้เข่าจะรู้สึกดีขึ้น
(4) เดินตัวแอ่นไปข้างหน้า หรือข้างหลัง (5) ถูกทุกข้อ
46. ข้อใดเป็นสูตรการรักษา “โรคยอกหลังคู่”
(1) นวดขาด้านใน สัญญาณ 1 2 3 4 เดินเส้นถึงตาตุ่ม และ 5 เน้นสัญญาณ 1 และ 2
(2) นวดพื้นฐานบ่าข้างที่เป็น 50 70 90 ปอนด์ และนวดไหล่สัญญาณ 1 2 3 4 5 เน้นสัญญาณ 1 และ 5
(3) นวดท้อง ในท่าแหวก ท่านาบ ข้างซ้าย-ขวา ท่าละ 3 รอบ กดสัญญาณ 1 และ 3
(4) นวดพื้นฐานแขนด้านในและด้านนอก
(5) ไม่มีข้อถูก
47. “โรคหัวไหล่ติดเฉียบพลัน” เกิดจากกล้ามเนื้อบริเวณใดอักเสบ
(1) กล้ามเนื้อบริเวณไหล่อักเสบ (2) กล้ามเนื้อบริเวณแขนอักเสบ (3) กล้ามเนื้อบริเวณสะบักอักเสบ
(4) ถูกทุกข้อที่กล่าวมา (5) ถูกเฉพาะข้อ 3
48. เทคนิคการเขยื้อนไหล่เพิ่มองศา ใน“โรคหัวไหล่ติดเรื้อรัง”มีวธีปฎิบัติอย่างไร
(1) กดสัญญาณ 1ไหล่นิ่งๆ แล้วค่อยๆ ยกแขนผู้ป่วยยืดขึ้นเหนือศรีษะ พร้อมบิดแขนเข้าใน ให้ฝ่ามือของผู้ป่วยมีทิศทางหันไปทางด้านหลังของผู้ป่วย และให้แขนชิดศรีษะด้านข้างผู้ป่วยให้มากที่สุด โดยให้ผู้ป่วยใช้ศอกช่วยดันให้แขนผู้ป่วยยืดตึง
(2) กดสัญญาณ 3ไหล่นิ่งๆ แล้วค่อยๆ ยกแขนผู้ป่วยยืดขึ้นเหนือศรีษะ พร้อมบิดแขนเข้าใน ให้ฝ่ามือของผู้ป่วยมีทิศทางหันไปทางด้านหลังของผู้ป่วย และให้แขนชิดศรีษะด้านข้างผู้ป่วยให้มากที่สุด โดยให้ผู้ป่วยใช้ศอกช่วยดันให้แขนผู้ป่วยยืดตึง
(3) กดสัญญาณ 5 ไหล่นิ่งๆ แล้วผู้นวดยืดตัวยกก้นขึ้น พร้อมดันข้อศอกผู้ป่วยให้สูงขึ้น อาจใช้แขนผู้ป่วยพาดหัวไหล่ผู้นวดแทนการงอข้อศอก จะทำให้เขยื้อนหัวไหล่ได้มากขึ้น
(4) มือซ้ายจับยึดผู้ป่วย มือขวาจับนิ้วนางกับนิ้วก้อย ดึงยืดออก และจับหักพับข้อมือลงทันที แล้วเปลี่ยนมาจับแนวนิ้วกลาง นิ้วชี้ และนิ้วทั้ง 4 แทนนิ้วนางกับนิ้วก้อยตามลำดับ
(5) ไม่มีข้อถูก
49. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุการเกิด“โรคสันนิบาตข้อมือตก”
(1) เกิดจากการไหลเวียนเลือดไม่ดี ทำให้เลือดไปเลี้ยงประสาทบริเวณข้อมือไม่ได้ หรือได้เล็กน้อย
(2) เกิดจากการเจริญของปลอกเอ็น และเอ็นไม่สัมพันธ์กัน
(3) เกิดจากการถูกความร้อน เย็นมากเกินไป ทำให้เลือดมาคั่งบริเวณข้อมือ
(4) เกิดจากโรคบางชนิด เช่น โรคเบาหวาน โรคพิษสุราเรื้อรัง
(5) ไม่มีข้อถูก
50. การนวดแขนด้านใน ในสูตรการรักษา“โรคสันนิบาตข้อมือตก”ข้อใดไม่ถูกต้อง
(1) นวดรอบจุดโคนนิ้วที่เป็น กดดันเข้าหาเดือย (2) กด 5 จุดข้อมือ และใจกลางฝ่ามือ
(3) กด 5 จุด ข้อนิ้วมือ ทุกข้อทุกนิ้ว (4) คลายนิ้วมือในท่ารูดแหวก (5) ไม่มีข้อถูก
51. “โรคอัมพาตใบหน้า”สาเหตุทางแผนไทยเชื่อว่าเกิดจากลมต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
(1) ลมปลายปัตคาต ทำให้ยักคิ้วไม่ได้ หลับตาไม่ลง ยิ้มปากเบี้ยว
(2) ลมสันนิบาต มีการกระตุกตามหน้าตาและปากวมด้วย
(3) ลมบาดทะจิต ทำให้การไหลเวียนของเลือดไม่สมดุล
(4) ลมชิวหาสดมภ์ เกิดอาการทางปาก มีปากเบี้ยว น้ำลายยืดเหนียว
(5) ไม่มีข้อถูก
52. ข้อใดกล่าวถูกต้องใน“โรคอัมพาต”
(1) วัดส้นเท้าข้างที่เป็นสั้น เป็นโรคอัมพาตชนิดแข็ง
(2) วัดส้นเท้าข้างที่เป็นสั้น เป็นโรคอัมพาตชนิดอ่อน
(3) วัดส้นเท้าข้างที่เป็นยาว เป็นโรคอัมพาตชนิดเกร็ง
(4) วัดส้นเท้าข้างที่เป็นยาว เป็นโรคอัมพาตชนิดติด
(5) ไม่มีข้อถูก
53. ข้อใดกล่าวถึง“โรคหมอนรองกระดูกทับเส้น”ผิด
(1) โรคที่เกิดจากการแตกของหมอนรองกระดูกสันหลังโดยมีส่วนไส้ของหมอน
รองกระดูกสัน หลังเคลื่อนถอยหลังออกมากดทับเส้นประสาทไขสันหลัง
(2) มีอาการปวด ชา หรืออ่อนแรงจากการทำงานที่ผิดปกติของเส้นประสาทที่โดนกด
(3) หมอนรองกระดูกไม่ได้เป็นกระดูก แต่จะประกอบด้วยส่วนใหญ่ๆ 2 ส่วนคือ วงรอบนอกจะเป็นเอ็นแข็งๆ และใจกลางจะเป็นเหมือนเจลใสๆ
(4) เกิดในคนวัยสูงอายุเท่านั้น
(5) ไม่มีข้อถูก
54. ผลการนวดสัญญาณ 2 ขาด้านนอก มีประโยชน์อย่างไรต่อ“โรคหมอนรองกระดูกทับเส้น”
(1) ใช้ตรวจกรณีสะโพกเคลื่อนว่าเข้าที่แล้วหรือไม่
(2) ใช้ในการดึงพิษการอักเสบของหลังและท้องสู่ปลายขา
(3) จ่ายความร้อนเข้าหัวกระดูกสะโพก ออกต้นขาและปลีน่อง
(4) ทำให้ลมเบื้องสูงและลมเบื้องต่ำพัดอย่างสมดุล
(5) ข้อที่ 2 เท่านั้น
55. การกดจุดสัญญาณใดที่หลังแก้อาการปวดประจำเดือน
(1) สัญญาณ 1 หลัง (2) สัญญาณ 2 หลัง (3) สัญญาณ 3 หลัง (4) สัญญาณ 4 หลัง (5) สัญญาณ 5 หลัง
56. การกดจุดสัญญาณใดที่หลังแก้อาการจุกเสียด แน่นท้องได้
(1) สัญญาณ 1 หลัง (2) สัญญาณ 2 หลัง (3) สัญญาณ 3 หลัง (4) สัญญาณ 4 หลัง (5) สัญญาณ 5 หลัง
57. การกดจุดสัญญาณใดแก้อาการดานเลือด และดานลมได้
(1) สัญญาณ 1 ขาด้านใน (2) สัญญาณ 2 ขาด้านใน (3) สัญญาณ 3 ขาด้านใน (4) สัญญาณ 4 ขาด้านใน
(5) สัญญาณ 5 ขาด้านใน
58. ดานลม มีอาการดังต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
(1) ท้องอืด ท้องเฟ้อ (2) ท้องเกิดเถาดานพันดึก (3) ใจหวิว ใจสั่น หงุดหงิดง่าย (4) ง่วงนอนบ่อย หลับง่าย
(5) หงุดหงิดง่าย
59. ดานลม มีการรักษาโดยใช้เทคนิคในท่าใด
(1) เทคนิคท่าโกย (2) เทคนิคท่าฝืน (3) เทคนิคเขยื้อนหัวไหล่ (4) เทคนิคท่าเขยื้อนหัวไหล่เพิ่มองศา
(5) ถูกทุกข้อ
60. ดานเลือด มีสาเหตุต่างๆดังนี้ ยกเว้นข้อใด
(1) อุบัติเหตุ หกล้มก้นกระแทก (2) ประจำเดือนหยุดกะทันหัน (3) คลอดลูกแล้วได้อยู่ไฟ
(4) ฮอร์โมน เช่นวัยทอง
(5) ถูกทุกข้อ
61. ดานเลือด มีอาการดังต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
(1) ผอมแห้งแรงน้อย
(2) เบื่ออาหาร
(3) กินอาหารแสลงแล้วจะมีอาการ
(4) ประจำเดือนมาเป็นปกติ
(5) ถูกทุกข้อ
62. ดานเลือด มีการรักษาโดยใช้เทคนิคในท่าใด
(1) เทคนิคท่าโกย
(2) เทคนิคท่าฝืน
(3) เทคนิคเขยื้อนหัวไหล่
(4) เทคนิคท่าเขยื้อนหัวไหล่เพิ่มองศา
(5) ถูกทุกข้อ
63. จับโปงน้ำเข่า มีสาเหตุต่างๆดังนี้ ยกเว้นข้อใด
(1) มีการผิดรูปของข้อเข่า ขาผิดรูป
(2) อาหาร อากาศ พฤติกรรม ท่าทาง
(3) โรคอ้วน
(4) ฮอร์โมน เช่นวัยทอง
(5) ผิดทุกข้อ
64. จับโปงน้ำเข่า เมื่อตรวจร่างกายโดยการวัดส้นเท้า ข้างที่เป็นจะพบอะไร
(1) ข้างที่เป็นจะสั้น
(2) ข้างที่เป็นจะยาว
(3) ส้นเท้าเท่ากันทั้งสองข้าง
(4) ข้อ1 และ 3 ถูก
(5) ถูกทุกข้อ
65. ถ้าทาปูนทดสอบที่หัวเข่า จับโปงแห้งจะเป็นอย่างไร
(1) ปูนจะไม่แห้ง
(2) ปูนจะเยิ้ม
(3) ปูนจะแห้ง
(4) ปูนจะละลาย
(5) ไม่มีข้อถูก
66. ข้อใดมิใช่สาเหตุของโรคคอตกหมอน
(1) การนอนผิดท่า
(2) ความล้าของกล้ามเนื้อจากการทำงานนานๆ
(3) การที่กล้ามเนื้อไม่แข็งแรง ถูกใช้งานกะทันหัน
(4) อุบัติเหตุ เช่น การเคลื่อนของหมอนรองกระดูกคอ
(5) การกระทบความร้อนเย็นมากเกินไป
67. ข้อใดมิใช่เป็นอาการของโรคคอตกหมอน
(1) ปวดตึงกล้ามเนื้อบ่าโค้งคอ
(2) ขัดยอกหน้าอก
(3) ปวดเจ็บเสียวในหัวไหล่
(4) ปวดจากคอและร้าวมาที่สะบัก ปีกสะบัก
(5) หันหน้าไม่ได้หรือหันหน้าลำบากต้องหันตัว
68. บุคคลที่เป็นโรคคอตกหมอนบ่อยๆมักเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคใด
(1) โรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 4 หลัง
(2) โรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 5 หลัง
(3) โรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 1 หลัง
(4) โรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 3 หลัง
(5) ข้อ 1 และข้อ 2 ถูก
69. นายคิม มีอาการ ปวดกล้ามเนื้อที่อยู่ระหว่างกระดูกสันหลังและสะบัก ยกแขนไม่สะดวก ก้มหรือ
เงยได้ไม่เต็มที่ขณะยกของก็ปวดเสียวลงมาที่สะบัก ผู้ป่วยที่มีอาการดังกล่าว ควรวินิจฉัยว่า
เป็นโรคอะไร
(1) ลมปลายปัตคาตสัญญาณ 4 หลัง
(2) ลมปลายปัตคาตสัญญาณ 5 หลัง
(3) สะบักจม
(4) หัวไหล่ติด
(5) ถูกทุกข้อ
70. บุคคลที่มักเกิดอาการท้องเสียบ่อยๆ มักเสี่ยงต่อการเกิดโรคใด
(1) โรคนิ้วไกปืน
(2) จับโปงข้อเท้า
(3) ตะคริวน่อง
(4) หัวไหล่ติด
(5) ลมปะกัง
71. ข้อใดคืออาการของโรคตะคริวน่อง
(1) ปวดกล้ามเนื้อ
(2) กล้ามเนื้อแข็งเป็นก้อน
(3) ปลายเท้าชี้ลง
(4) ขยับขาไม่ได้ กระดกขาขึ้นเองไม่ได้
(5) ถูกทุกข้อ
72. กรณีนักกีฬามีอาการของโรคตะคริวน่อง อันดับแรกมีวิธีการรักษาอย่างไร
(1) ให้ นอนหงาย ยกขาขึ้นตรงๆ ดันข้อเท้ากระดกขึ้น
(2) นอนตะแคงข้างดี ตะโพกงอแทนนอนหงายจะลดความตึงลง
(3) ผู้ป่วยนอนหงาย มือหนึ่งจับข้อเท้า อีกมือดันฝ่าเท้าให้กระดกขึ้นแรงแล้วกระดกลงตามธรรมชาติ
(4) นวดพื้นฐานขา
(5) นวดสัญญาณ 12345 ขาด้านนอก
73. ขั้นตอนวิธีการนวดรักษาโรคข้อใดใช้รักษาโรคตะคริวน่องโดยเฉพาะ
(1) นวดพื้นฐานขา เปิดลม
(2) นวดแนวเส้นกึ่งกลางน่อง
(3) นวดพื้นฐานขาด้านนอก
(4) นวดพื้นฐานขาด้านใน
(5) นวดเน้นข้อเท้า
74. นายจันทร์กานเล่นกีฬาฟุตบอล ได้รับบาดเจ็บข้อเท้าขวาแพลง จากกรณีดังกล่าวจะพบ
ข้อเท้าแพลงตรงตำแหน่งใด
(1) แพลงด้านข้าง
(2) แพลงด้านใน
(3) แพลงด้านหน้า
(4) แพลงหลังเท้า
(5) แพลงทั้งสองด้าน
75. โรคข้อเท้าแพลง เกิดจากอุบัติเหตุ ส่วนใหญ่ 80% มักพบข้อเท้าแพลงตรงตำแหน่งใด
(1) แพลงด้านข้าง
(2) แพลงด้านใน
(3) แพลงด้านหน้า
(4) แพลงหลังเท้า
(5) แพลงทั้งสองด้าน
76. น้องแพน ได้รับอุบัติเหตุ มีอาการ ปวดขัดเสียวบริเวณข้อเท้าซ้าย กรณีดังกล่าววินิจฉัยว่าน้องแพน
เป็นโรคใด
(1) สันนิบาตตีนตก
(2) จับโปงข้อเท้า
(3) นิ้วเท้าซ้น
(4) ข้อเท้าแพลง
(5) ตะคริวน่อง
77. น้องแพน ได้รับอุบัติเหตุ ข้อเท้าซ้ายแพลง กรณีดังกล่าวน้องแพนควรทำท่าบริหารอย่างไร
(1) ท่ากระดกข้อเท้าขึ้น ลง
(2) ท่านั่งยองๆ 90 องศา
(3) ท่างุ้มนิ้วเท้าขึ้น ลง
(4) ท่าเกร็งกล้ามเนื้อท้อง
(5) ท่ายืนเขย่งปลายเท้า
78. หญิงไทยคู่อายุ 45 ปี มีอาชีพก่อสร้าง มาด้วยอาการปวดหลังข้างซ้าย บางครั้งจะรู้สึกปวดร้าวลง
ต้นขาข้างซ้ายจึงมารับการรักษาที่คลินิกแผนไทย ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคใดต่อไปนี้
(1) ลำบองสัญญาณ 1 หลัง
(2) ลำบองสัญญาณ 3 หลัง
(3) ลมปลายปัตคาตสัญญาณ 1 หลัง
(4) ลมปลายปัตคาตสัญญาณ 3 หลัง
(5) ถูกทั้งข้อ 3 และ ข้อ 4
79. หญิงไทยคู่อายุ 45 ปี มีอาชีพก่อสร้าง มาด้วยอาการปวดหลังข้างซ้าย บางครั้งจะรู้สึกปวดร้าวลง
ต้นขาข้างซ้ายจึงมารับการรักษาที่คลินิกแผนไทยจากอาการของผู้ป่วยในข้างต้น ข้อใดกล่าวถึง
วิธีการรักษาได้ถูกต้องที่สุด
(1) นวดหลังสัญญาณ 123 เน้นสัญญาณ 3 แล้วนวดขาด้านนอกสัญญาณ 1-5 เน้นสัญญาณ 3
(2) นวดหลังสัญญาณ 123 เน้นสัญญาณ 3 แล้วนวดขาด้านนอกสัญญาณ 1-5 เน้นสัญญาณ 2
(3) นวดหลังสัญญาณ 123 เน้นสัญญาณ 1 แล้วนวดขาด้านนอกสัญญาณ 1-5 เน้นสัญญาณ 1
(4) นวดหลังสัญญาณ 123 เน้นสัญญาณ 1 แล้วนวดขาด้านนอกสัญญาณ 1-5 เน้นสัญญาณ 2
(5) นวดหลังสัญญาณ 123 เน้นสัญญาณ 1 แล้วนวดขาด้านนอกสัญญาณ 1-5 เน้นสัญญาณ 3
80. อาการใดบ่งบอกถึงการเกิดโรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 3 หลัง
(1) อาการปวดบั้นเอว ร้าวลงปลีน่อง
(2) อาการขาอ่อนแรง
(3) อาการปวดบั้นเอว ร้าวลงฝ่าเท้า นิ้วเท้า
(4) ข้อ 1 , 3 ถูก
(5) ถูกทุกข้อ
81. ข้อใดเป็นวิธีการรักษาผู้ป่วยโรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 3 หลัง
(1) นวดหลังสัญญาณ 1-3 เน้นสัญญาณ 3 หลัง แล้วนวดขาด้านนอกสัญญาณ 1-5 เน้นสัญญาณ 2
(2) นวดขาด้านในข้างที่เป็นสัญญาณ 1-5 เน้นสัญญาณ 1
(3) นวดหลังสัญญาณ 1-3 เน้นสัญญาณ 1 แล้วนวดขาด้านนอกสัญญาณ 1-5
เน้น สัญญาณ 3
(4) ข้อ 3 ถูก
(5) ข้อ 1 , 2 ถูก
82. ผู้ป่วยหญิงไทยคู่ อายุ 35 ปี มาด้วยอาการป่วยกล้ามเนื้อบ่าและคอ ร้าวลงสะบัก แขนและปลาย
นิ้วนางซึ่งจากการซักประวัติพบว่าผู้ป่วยเป็นพนักงานบัญชีต้องนั่งทำงานหน้าคอมพิวเตอร์
ตลอดเวลา วิธีการรักษาใดถูกที่สุด
(1) นวดพื้นฐานหลังสัญญาณ 4 และ 5 เน้นสัญญาณ 5 นวดพื้นฐานบ่า นวดสัญญาณ 4 หัวไหล่
(2) นวดพื้นฐานหลังสัญญาณ 4 และ 5 เน้นสัญญาณ 4 นวดพื้นฐานบ่า นวดสัญญาณ 4 หัวไหล่
(3) นวดพื้นฐานบ่า นวดหลังสัญญาณ 4 และ 5 เน้นสัญญาณ 5 นวดสัญญาณ 4 หัวไหล่
(4) นวดพื้นฐานบ่า นวดหลังสัญญาณ 4 และ 5 เน้นสัญญาณ 4 นวดสัญญาณ 4 หัวไหล่
(5) นวดพื้นฐานบ่า นวดหลังสัญญาณ 4 และ 5 เน้นสัญญาณ 4 นวดสัญญาณ 4 หัวไหล่
นวดโค้งคอ
83. ผู้ป่วยหญิงไทยคู่ อายุ 35 ปี มาด้วยอาการปวดกล้ามเนื้อบ่าและคอ ร้าวลงสะบัก แขนและปลาย
นิ้วนางซึ่งจากการซักประวัติพบว่าผู้ป่วยเป็นพนักงานบัญชีต้องนั่งทำงานหน้าคอมพิวเตอร์
ตลอดเวลา ข้อใดเป็นท่าบริหารที่เหมาะสมกับผู้ป่วยโรคนี้
(1) ท่าเกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง ท่ายกศีรษะมองปลายเท้า
(2) นั่งยองๆ 90 องศา
(3) บิดและสลัดแขน คอ บริเวณที่มีอาการปวด
(4) บริหารโดยการเกร็งกล้ามเนื้อหลังบิดตัว 10-20 ครั้ง
(5) บริหารโดยใช้ท่าแกว่งแขน ชูแขนแนบศีรษะแล้วทิ้งแขนให้ผ่านลำตัวไปด้านหลัง
10-20 ครั้ง
84. นายไก่ เอี้ยวตัวยกลังหนังสือที่วางบนโต๊ะอย่างกะทันหัน หลังจากนั้น 1 วันก็เริ่มมีอาการ
ปวดตึง บริเวณสะเอวข้างขวา ตัวแข็ง เวลาเดินมักเอามือค้ำสะเอวข้างขวา และเดินแอ่นตัวไป
ข้างหลังตลอดเวลา จึงไปรับการรักษาที่คลินิคแผนไทย แล้วได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคใดต่อไปนี้
(1) ลำบองสัญญาณ 1 หลัง
(2) ลำบองสัญญาณ 3 หลัง
(3) ลมปราบที่สันหลัง
(4) ยอกหลังเดี่ยว
(5) ยอกหลังคู่
85. ข้อใดต่อไปนี้ผิด เมื่อกล่าวถึงโรคหัวไหล่ติดเฉียบพลัน และหัวไหล่ติดเรื้อรัง
(1) แตกต่างกันที่ระยะเวลาการเป็นโรค คือหัวไหล่ติดเรื้อรังต้องเป็นมานานเกิน 6 เดือน
(2) หัวไหล่ติดเฉียบพลันจะมีอาการปวด บวม แดง ร้อน อักเสบบริเวณหัวไหล่ ส่วนหัว ไหล่ติดเรื้อรังมีแค่อาการปวดเสียวในหัวไหล่ เคลื่อนไหวแขนไม่ได้องศา
(3) ยกแขนชิดหูไม่ได้ ไหล่ติดยกแขนไม่ได้ทั้ง 2 ประเภท
(4) มีการใช้เทคนิคเขยื้อนไหล่และเขยื้อนไหล่เพิ่มองศาในการรักษาโรคหัวไหล่
ติดทั้ง 2 ประเภท
(5) มีการนวดพื้นฐานบ่า และนวดไหล่สัญญาณ 1-5
86. บุคคลอาชีพใดต่อไปนี้เสี่ยงต่อการเป็นโรคลมปลายปัตคาตข้อศอก
(1) แม่ค้าส้มตำ นักแบดมินตัน
(2) นักบัญชี ครู
(3) ตำรวจ ทหาร
(4) ดารา นางแบบ
(5) แม่ค้าผลไม้ นักวิ่ง
87. ปัจจัยเสี่ยงใดต่อไปนี้เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคจับโปงแห้งเข่า
(1) โรคอ้วน
(2) การใช้งานเข่ามากเช่น นักกีฬาวิ่ง พนักงานขายของ
(3) อุบัติเหตุ
(4) เข่าเสื่อมจากวัยทอง
(5) ถูกทุกข้อ
88. หากผู้ป่วยมาด้วยอาการคอตกหมอนเนื่องจากนอนผิดท่า ทำให้มีอาการปวดตึงกล้ามเนื้อบ่าโค้งคอ
และร้าวลงปีกสะบัก ข้อใดเป็นวิธีการรักษาที่ถูกต้อง
(1) นวดพื้นฐานบ่า นวดหลังสัญญาณ 5 บน จุดฐานคอ นวดเส้นโค้งคอ นวดไหล่สัญญาณ 4
(2) นวดพื้นฐานบ่า นวดหลังสัญญาณ 4 บน จุดฐานคอ นวดเส้นโค้งคอ นวดไหล่สัญญาณ 4
(3) นวดพื้นฐานบ่า นวดหลังสัญญาณ 5 บน จุดฐานคอ นวดเส้นโค้งคอ
(4) นวดพื้นฐานบ่า นวดหลังสัญญาณ 4 บน จุดฐานคอ นวดเส้นโค้งคอ
(5) นวดพื้นฐานบ่า นวดหลังสัญญาณ 5 บน 4 บน จุดฐานคอ นวดเส้นโค้งคอ
นวดไหล่สัญญาณ 4
89. ผู้ป่วยมีอาการปวดศีรษะข้างเดียวบางครั้งมีการปวดสลับข้างมีอาการอาเจียนร่วมด้วย
จะใช้วิธีการนวดใดบ้าง
(1) นวดพื้นฐานบ่า นวดสัญญาณ 4 , 5 หลังเน้น 5 ตามด้วยสัญญาณ 4 ไหล่
(2) นวดโค้งคอ นวดสัญญาณศีรษะด้านหลัง และด้านหน้า
(3) มีการเปิดประตูลมที่ขาหนีบทั้ง 2 ข้าง
(4) นวดท้องในท่าแหวก และนาบ
(5) ถูกทุกข้อ
90. ผลของการนวดสัญญาณขาด้านในสัญญาณ 1 เพื่อแก้ปวดขาและขัดสะโพก จะมีการจ่ายความร้อน
เข้าสู่ส่วนใด
(1) กระดูกสะโพก และข้อเท้า
(2) หมอนรองกระดูกหลังและกระดูกเชิงกราน
(3) กระดูกสะโพกและหมอนรองกระดูกหลัง
(4) ข้อเท้าและกระดูกเชิงกราน
(5) กระดูกสะโพกและลูกสะบ้า
91. สัญญาณใดที่ห้ามจับในกรณีที่ผู้ป่วยเป็นอัมพาตเหยียดคู้ขาเองไม่ได้
(1) สัญญาณ 1 ขาด้านนอก
(2) สัญญาณ 2 ขาด้านนอก
(3) สัญญาณ 3 ขาด้านนอก
(4) สัญญาณ 4 ขาด้านนอก
(5) ถูกทุกข้อ
92. สัญญาณใดที่ห้ามจับในกรณีที่ผู้ป่วยเป็นอัมพาตข้อไหล่หลวมยกแขนเองไม่ได้
(1) สัญญาณ 1 หัวไหล่
(2) สัญญาณ 2 หัวไหล่
(3) สัญญาณ 3 หัวไหล่
(4) สัญญาณ 4 หัวไหล่
(5) ถูกทุกข้อ
93. สัญญาณใดต่อไปนี้ที่มีจุดสัญญาณใกล้เคียงกันมากที่สุด
(1) สัญญาณ 1 ขานอกกับสัญญาณ 1 ขาใน
(2) สัญญาณ 3 ขานอกกับสัญญาณ 3 แขนใน
(3) สัญญาณ 2 หัวไหล่กับสัญญาณ 3 หัวไหล่
(4.) สัญญาณ 1 แขนในกับสัญญาณ 4 หัวไหล่
(5) ถูกทุกข้อ
94. จุดสัญญาณแม่ของแต่ละส่วนรวมทั้งหมดมีกี่จุด
(1) มีทั้งสิ้น 50 จุด
(2.) มีทั้งสิ้น 15 จุด
(3) มีทั้งสิ้น 3 จุด
(4) มีทั้งสิ้น 23 จุด
(5) ถูกทุกข้อ
95. การกดบังคับจุดสัญญาณเวลากดควรนานเท่าใด
(1) เท่ากับ 1 คาบน้อย
(2) เท่ากับ 1 คาบใหญ่
(3) เท่ากับ 1 นาที
(4) เท่ากับ 1 วินาที
(5) ถูกทุกข้อ
96. สัญญาณใดที่ใช้ตรวจรู้กรณีอัมพาตขาลีบว่าสามารถนวดแก้คืนได้หรือไม่
(1) สัญญาณ 5 ขาด้านนอก
(2) สัญญาณ 4 ขาด้านนอก
(3) สัญญาณ 3 ขาด้านนอก
(4) สัญญาณ 2 ขาด้านนอก
(5) ถูกทุกข้อ
97. สัญญาณใดต่อไปนี้ที่มี = ความหมายสัญญาณ = ใกล้เคียงกันมากที่สุด
(1) สัญญาณ 1 ขานอกกับสัญญาณ 1 ขาใน
(2) สัญญาณ 1 แขนในกับสัญญาณ 4 หัวไหล่
(3) สัญญาณ 3 ขานอกกับสัญญาณ 3 แขนใน
(4) สัญญาณ 4 หัวไหล่กับสัญญาณ 4 หลัง
(5) ถูกทุกข้อ
98. ข้อต่อไปนี้ผิด....ความหมายของ สัญญาณ 1 หลัง ยกเว้น
(1) จ่ายความร้อนออก สะบัก รักแร้ด้านหลัง
(2) จ่ายเลือดและความร้อนเข้าเชิงกรานแก้ปวดประจำเดือน
(3) จ่ายเลือดและความร้อนเข้าไต ลงปลีน่อง
(4) จ่ายเลือดและความร้อนลงทั่วขาด้านนอก
(5) ถูกทุกข้อ
99. สัญญาณที่จ่ายเลือดและความร้อนเข้าเชิงกรานช่วยบังคับกระดูกสะโพกที่เคลื่อนให้เข้าที่คือ
(1) สัญญาณ 1 ขาด้านนอก
(2) สัญญาณ 2 ขาด้านนอก
(3) สัญญาณ 3 ขาด้านนอก
(4) สัญญาณ 4 ขาด้านนอก
(5) ถูกทุกข้อ
100. ทั้งหมดคือเส้นประธานสิบที่เกี่ยวข้องกับอาการปวดขา ปวดเข่า ยกเว้นข้อใด
(1) อิทา
(2) ปิงคลา
(3) กาลทารี
(4) จันทภูสัง
(5) ถูกทั้งข้อ 2 และ 3
101. ในการนวดสัญญาณหลัง สัญญาณใดที่ช่วยในการระบบหายใจ แก้หอบเหนื่อยได้
(1) สัญญาณหลัง 1
(2) สัญญาณหลัง 2
(3) สัญญาณหลัง 3
(4) สัญญาณหลัง 4
(5) สัญญาณหลัง 5
102. ในการตรวจโรคของลมปลายปัตคาตสัญญาณ 4 หลัง ถ้าพบว่าเมื่อเงยหน้ามองเพดานแล้ว
โหนกแก้มข้างที่เป็นต่ำกว่าข้างที่ไม่เป็น แสดงว่าเกิดเพราะเหตุใด
(1) หินปูนเกาะ
(2) กระดูกหลังทรุดตัว
(3) หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
(4) หมอนรองกระดูกทรุดตัว
(5) หินปูนเกาะที่หมอนรองกระดูก
103. ข้อใดเป็นเทคนิคเขยื้อนหัวไหล่เพื่อเพิ่มองศา
(1) กดสัญญาณ 4 หัวไหล่ แล้วดันศอกให้สูงขึ้น
(2) กดสัญญาณ 5 หัวไหล่ แล้วดันศอกให้สูงขึ้น
(3) กดสัญญาณ 4 หัวไหล่ แล้วบิดแขนผู้ป่วยออกด้านนอก ให้แขนห่างจากศรีษะมากที่สุด
(4) กดสัญญาณ 5 หัวไหล่ แล้วบิดแขนผู้ป่วยออกด้านนอก ให้แขนห่างจากศรีษะมากที่สุด
(5) ถูกทุกข้อ
104. . แอนนา เล่นบาสเก็ตบอลกับเพื่อน ปรากฏว่า เกิดนิ้วมือซ้น ไปหาหมอนวดแผนไทย ถามว่า
การนวดสัญญาณแขนด้านในสัญญาณใดที่ช่วยในการบรรเทาอาการนิ้วมือซ้น นิ้วมือติดได้ดี
(1) สัญญาณแขนใน 1
(2) สัญญาณแขนใน 2
(3) สัญญาณแขนใน 3
(4) สัญญาณแขนใน 4
(5) สัญญาณแขนใน 5
105. การนวดศรีษะ สัญญาณ 5 ศรีษะหลัง ผลของการนวดจะช่วยในการแก้อาการใด
(1) ปวดศรีษะ
(2) ไมเกรน
(3) อัมพาตใบหน้า
(4) ถูกทั้งข้อ 1 และ 2
(5) ผิดทุกข้อ
106. ปาหนัน มีอาการคอตกหมอนบ่อย ซ้ำๆกันทุกคืน อาจมีโอกาสเป็นโรคใด
(1) ลมปะกัง
(2) ลมปลายปัตคาตสัญญาณ 4 หลัง
(3) ลมปลายปัตคาตสัญญาณ 3 หลัง
(4) ลมชิวหาสดมภ์
(5) อัมพาตใบหน้า
107. ทุกข้อ คือการรักษาการนวดข้อเท้าแพลง ยกเว้นข้อใด
(1) นวดเข่าด้านใน ช่วยส่งเลือดไปเลี้ยงข้อเท้า
(2) นวดพื้นฐานขา ไม่คลายหลังเท้า
(3) เน้นข้อเท้า เพื่อเพิ่มกำลัง
(4) ทดสอบแรงถีบปลายเท้า
(5) จับชีพจรหลังเท้า
108. ข้อเท้าแพลงด้านนอก เกิดจากสาเหตุใด
(1) ข้อเท้าพลิกบิดออกนอก
(2) กล้ามเนื้อฉีกขาด
(3) กระดูกข้อเท้าเคลื่อน
(4) ข้อเท้าพลิกบิดเข้าใน
(5) ถูกทั้งข้อ 3 และ 4
109. ในการนวดเพื่อแก้อาการเป็นลม ข้อใดคือจุดที่นวด
(1) จุดร่องใต้จมูก
(2) แนวบ่า
(3) ง่ามระหว่างนิ้วชี้และนิ้วหัวแม่มือ
(4) จุดลิ้นปี่
(5) ถูกทุกข้อ
110. ข้อใดคืออาการของคนเป็นลม..ยกเว้น
(1) มึนงง วิงเวียน
(2) ตาพร่า หูอื้อ
(3) ความดันสูง
(4) เหงื่อออกเยอะ
(5) ชีพจรเต้นเบา
111. การนวดมีกี่ลักษณะ
(1) 2 ลักษณะ
(2) 4 ลักษณะ
(3) 6 ลักษณะ
(4) 8 ลักษณะ
(5) 10 ลักษณะ
112. การออกแรง เพื่อที่จะยึดเส้นเอ็นของกล้ามเนื้อหรือพังพืดของข้อต่อที่หดสั้นให้ยืดออก
หมายถึงการนวดลักษณะใด
(1) การกด
(2) การดึง
(3) การดัด
(4) การบิด
(5) การบีบ
113. ข้อใดคือข้อเสียของการเหยียบ
(1) อาจทำให้กระดูกสันหลังอาจจะหัก
(2) อาจทำให้กล้ามเนื้อฉีกขาด
(3) อาจทำให้เส้นเอ็นฉีกขาด
(4) อาจทำให้พังพืดฉีกขาด
(5) อาจทำให้เส้นเลือดแตก
114. คนที่เป็นเบาหวานสามารถนวดได้หรือไม่ เพราะอะไร
(1) ได้ เพราะเป็นการเพิ่มการทำงานของตับ
(2) ได้ เพราะเป็นการเพิ่มการไหลเวียนของเลือด
(3) ไม่ได้ เพราะอาจทำให้เกิดการช้ำ
(4) ไม่ได้ เพราะอาจทำให้ก้อนเลือดดำไปอุดตันเส้นเลือด
(5) ขึ้นอยู่กับลักษณะอาการของผู้ป่วย
115. การเคลื่อนไหวของข้อต่อมีกี่แบบ
(1) 3 แบบ
(2) 4 แบบ
(3) 5 แบบ
(4) 6 แบบ
(5) 7 แบบ
116. สิ่งสำคัญของผู้นวดที่ต้องคำนึงถึงเป็นอันดับแรกก่อนที่จะนวดคืออะไร
(1) ผู้นวดต้องทำต้องจิตใจให้สงบ
(2) ผู้นวดต้องดูความสะอาดของสถานที่นวด
(3) ผู้นวดต้องคำนึงถึงวัยของผู้ป่วย
(4) ผู้นวดต้องรู้สภาพของตนเอง
(5) ผู้นวดต้องสอบถามและวิเคราะห์อาการให้แน่ชัด
117. ปม”Crystalline”หรือ”Gritt” คืออะไร
(1) ปมใต้ผิวหนังที่เกิดจากพังพืด
(2) ปมใต้ผิวหนังที่สามารถบ่งบอกถึงตำแหน่งที่มีปัญหาของผู้ป่วย
(3) ปมใต้ผิวหนังที่เป็นอันตรายต่อการนวด
(4) ปมใต้ผิวหนังที่เกิดจากปลายเส้นประสาทแต่ละเส้นมารวมกัน
(5) ปมใต้ผิวหนังที่ทำให้ผู้ป่วยไม่รู้สึกเจ็บเมื่อผู้นวดนวดปมนั้น
118. ข้อใดคือประโยชน์ของการนวดฝ่าเท้า
(1) กระตุ้นการทำงานของพังพืด
(2) กระตุ้นการทำงานของผิวหนัง
(3) กระตุ้นการทำงานของเส้นเอ็น
(4) กระตุ้นการทำงานของกระดูก
(5) กระตุ้นการทำงานของระบบต่างๆ
119. การนวดสามารถรักษาโรคใดได้บ้าง
(1) โรคติดเชื้อ
(2) โรคผิวหนัง
(3) โรคเครียด
(4) ความผิดปกติของโครงสร้าง
(5) อุบัติเหตุ
120. ถ้ามีอาการกดเจ็บบริเวณฝ่าเท้า หมายถึงอะไร
(1) อวัยวะตรงตำแหน่งนั้นมีปัญหา
(2) บริเวณนั้นไม่สามารถนวดได้
(3) ต้องรักษาตรงตำแหน่งนั้นให้หายก่อนจึงนวดได้
(4) ต้องนวดเน้นตรงจุดนั้นให้มากๆ
(5) ให้แช่ฝ่าเท้าในน้ำอุ่นๆก่อนแล้วค่อยนวดวันหลัง
121. การนวดน้ำมันเน้นการรักษาในเรื่องใด
(1) ด้านกระดูก
(2) ด้านการผ่อนคลาย
(3) ด้านผิวหนัง
(4) ด้านปวดเมื่อย
(5) ด้านระบบย่อยอาหาร
122. ยาหม่องที่ใช้ในการนวดควรทำมาจากสมุนไพรใดจึงช่วยลดอาการปวดเมื่อยได้ดี
(1) ยาหม่องเสลดพังพอน
(2) ยาหม่องทองพันชั่ง
(3) ยาหม่องพญายอ
(4) ยาหม่องหนุมานประสานกาย
(5) ยาหม่องไพล
123. ตัวยาสมุนไพรใดที่ไม่ได้ใช้ทำลูกประคบ
(1) ไพล
(2) ใบมะขาม
(3) ใบส้มป่อย
(4) เปราะหอม
(5) พิมเสน
124. ตัวยาใดในลูกประคบที่ช่วยดูดความร้อน และช่วยพาตัวยาซึมผ่านผิวหนัง
(1) พิมเสน
(2) การบูร
(3) เกลือ
(4) ไพล
(5) ขมิ้นชัน
125. ข้อใดกล่าวผิด A. รูปแบบยาทาถูนวด ควรตั้งตำรับให้อยู่ในรูปครีม ยาขี้ผึ้ง เนื่องจากรูปแบบ
ยาเตรียมเหล่านี้ติดผิวหนังได้ดี และติดอยู่นาน
B. ตัวยาที่ช่วยเสริมให้ยาทาถูนวดมีความร้อนในการทา คือ น้ำมันระกำ
น้ำมันเขียว น้ำมันสน เป็นต้น
C. ในการทำยาหม่องไพล สารที่ช่วยเพิ่มการดูดซึมผิว คือ พาราฟินแข็ง
(1) A
(2) B
(3) C
(4) A และ C
(5) ไม่มีข้อถูก
126. ข้อใดกล่าวถูกเกี่ยวกับการนวดฝ่าเท้า
A. การนวดฝ่าเท้าเป็นการกระตุ้นการทำงานของระบบต่างๆ ของร่างกาย
B. การนวดฝ่าเท้าไม่สามารถแก้ปัญหาพวกติดเชื้อ พวกผิดปกติของโครงสร้าง การอุดตันของลำไส้
C. การทำงานของการนวดเท้า อยู่บนพื้นฐานหลักการว่า อวัยวะทั้งหมดของร่างกายแสดงออกสัมพันธ์กับบริเวณเท้าทั้งหมด
(1) A
(2) B
(3) C
(4) A และ B
(5) A B C
127. การนวดเท้าในแผนไทย ตามทฤษฎีเรื่องเส้นสิบ มีเส้นที่แล่นไปที่เท้าหลายเส้น ยกเว้นข้อใด
(1) อิทา ปิงคลา
(2) ทุวารี
(3) กาลธารี
(4) สหัสรังสี
(5) จันทภูสัง
128. น้ำมันหอมระเหยต่อไปนี้ ช่วยบรรเทาอาการปวดศีรษะ ไมเกรน ยกเว้นข้อใด
(1) โรสแมรี่
(2) มิ้น
(3) ตะไคร้หอม
(4) มะกรูด
(5) มะลิ
129. ข้อต่อไปนี้ถูกที่สุด
(1) การวินิจฉัยได้จากการซักประวัติ 30 %
(2) การวินิจฉัยได้จากการซักประวัติ 40 %
(3) การวินิจฉัยได้จากการซักประวัติ 50 %
(4) การวินิจฉัยได้จากการซักประวัติ 80 %
(5) ข้อที่ 1 ถูก
130. วัตถุประสงค์ของการทาปูนคือ
(1) ช่วยในการรักษาโรค
(2) ช่วยในการวินิจฉัยโรค
(3) ช่วยในการต่อกระดูก
(4) ถูกทุกข้อ
(5) ไม่มีข้อถูก
131. ถ้าพบว่าจุดที่ทาปูนนั้นเป็นเงาเยิ้มแสดงว่าเป็นโรคอะไร
(1) จับโปงน้ำ หรือลำบอง
(2) วัณโรคกระดูก
(3) ลมปราบ
(4) ลมปลายปัตคาด
(5) ถูกทุกข้อ
132. ถ้าพบว่าจุดที่ทาปูนนั้นแห้งเร็วกว่าปกติแสดงว่าเป็นโรคอะไร
(1) จับโปงน้ำ หรือลำบอง
(2) วัณโรคกระดูก
(3) ลมปราบ
(4) ลมปลายปัตคาด
(5) ถูกทุกข้อ
133.ถ้าพบว่าจุดที่ทาปูนนั้นแห้งเป็นทางยามตามมัดกล้ามเนื้อแสดงว่าเป็นโรคอะไร
(1) จับโปงน้ำ หรือลำบอง
(2) วัณโรคกระดูก
(3) ลมปราบ
(4) ลมปลายปัตคาด
(5) ถูกทุกข้อ
134. ข้อใดคือความหมายของการนวดที่สมบูรณ์ที่สุด
(1) การดูแลสุขภาพเบื้องต้นของมนุษย์
(2) การกดบีบ , การดึงดัด , การทุบตี
(3) การสัมผัสต่อร่างกายโดยใช้ส่วนของร่างกายหรือการใช้อุปกรณ์สัมผัสต่อร่างกาย
(4) การใช้ส่วนต่างๆของร่างกายกดให้รู้สึกเจ็บก่อน แล้วจะเกิดความสบาย
(5) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2
135.ก่อนการนวดควรทำสิ่งใด
(1) สอบถามผู้ถูกนวดเช่น ,ชื่อ, ที่อยู่ที่ , อายุ
(2) ไหว้ผู้ถูกนวดก่อนเพื่อเป็นการขอขมา
(3) สอบถามประวัติและอาการเจ็บป่วยปัจจุบัน , เจ็บป่วยในอดีต
(4) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2 , 3
(5) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2
136.ขณะทำการนวดผู้นวดควรทำอย่างไรข้อต่อไปนี้ผิด ยกเว้น...
(1) พูดให้ผู้ถูกนวดทราบถึงความสามารถของตน
(2) ชวนพูดคุยเรื่องต่างๆเพื่อไม่ให้ผู้ถูกนวดหลับ
(3) สังเกตปฏิกิริยาสีหน้า และผลการนวด
(4) นวดให้ครบทุกท่า และรักษาเวลาไม่ให้ขาดหรือเกิน
(5) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2
137. การเป็นผู้นวดที่ดีควรรู้สิ่งใด
(1) รู้หลักการนวดที่ดีรู้ วิธีการนวดที่เหมาะสม
(2) รู้เกี่ยวกับระบบต่างๆของร่างกาย
(3) รู้ประวัติการเจ็บป่วยของผู้ถูกนวด
(4) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2 , 3
(5) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2
138. สังเกตผลของการนวดที่ให้ความรู้สึกที่ดีได้อย่างไร
(1) สีหน้าและอาการต้านเกร็งของกล้ามเนื้อ
(2) สอบถามผู้ถูกนวดโดยตรง
(3) สีหน้าบิดเบี้ยวแสดงว่ารู้สึกถึงแรงกด
(4) ข้อ 1. และ 2. ถูก
(5) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2 , 3
13 9. ข้อใดคือผลดีของการนวด ยกเว้น..
(1) ทำให้กล้ามเนื้อคลายตัวอ่อนแรงลง
(2) เส้นเอ็นพังผืดยืดตัวได้ดี
(3) สามารถรักษาโรคบางโรคให้หายได้
(4) ลดอาการหดเกร็งตัวของกล้ามเนื้อ
(5) ถูกทุกข้อ
141. ข้อใดไม่จัดว่าเป็นเทคนิคการนวดที่ถูกต้อง
(1) รักษาเวลาในการนวดให้พอดีไม่ขาดหรือเกิน และนวดให้ครบทุกท่า
(2) ใช้น้ำหนักตัวช่วยในการนวด
(3) ลงน้ำหนักกดนวดอย่างช้าๆ
(4) มีสมาธิพิจารณาขั้นตอน และผลของการนวด
(5) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2
142. อาการใดต่อไปนี้ ต้องนวดด้วยความระมัดระวัง
(1) กล้ามเนื้อฟกช้ำ,กล้ามเนื้ออักเสบ
(2) ข้อต่อบวม แดงร้อน
(3) เป็นโรคผิวหนังชนิดติดต่อกันได้
(4) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2, 3
(5) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2
143. การนวดบริเวณใดควรระมัดระวังเป็นพิเศษ
(1) ส่วนที่เป็นกระดูก-ข้อต่อที่เคลื่อนหลุดได้ง่าย
(2) ส่วนบริเวณเนื้ออ่อน
(3) ส่วนบริเวณช่องท้อง
(4) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2
(5) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2, 3
144. ข้อใดถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับการนวดรักษาโรค
(1) ก่อนนวดต้องยกมือไหว้ผู้ถูกนวดก่อนทุกครั้ง
(2) ไม่แสดงให้ผู้ถูกนวดทราบว่าผู้นวดไม่สามารถรักษาอาการเจ็บป่วยได้
(3) หลักการนวดคือ มืออยู่ที่ใด ใจอยู่นั่น
(4) นวดให้เจ็บแล้วโรคจะหาย
(5) ถูกทุกข้อ
145. ข้อใดคือความหมายของการนวด
(1) การบรรเทาความไม่สบายเบื้องต้นของมนุษย์
(2) การสัมผัสต่อร่ายกายบริเวณที่มีความเจ็บป่วยเพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วย
(3) การใช้เครื่องมือสัมผัสส่วนต่างๆของร่างกายการกด-บีบ,การดึง-ดัด,การทุบ-ตี
(4) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2, 3
(5) ถูกเฉพาะข้อ 3
146. ขณะทำการนวดผู้นวดควรทำสิ่งใดต่อไปนี้ ยกเว้น...
(1) สอบถามและสังเกตปฏิกิริยาของผู้ถูกนวด
(2) สำรวมกาย วาจา ใจ
(3) ชวนพูดคุยเรื่องต่างๆเพื่อไม่ให้เกิดความรู้สึกเบื่อหน่าย
(4) ตั้งใจทำสมาธิและมีสติในการนวด
(5) ถูกทุกข้อ
147. ข้อใดถูกที่สุดการลงน้ำหนักในการนวดคือดังนี้
(1) นิ่ง,หน่วง, เน้น
(2) หน่วง,นิ่ง เน้น
(3) เน้น,หน่วง, นิ่ง
(4) หน่วง, เน้น,นิ่ง
(5) ถูกเฉพาะข้อ 3
148. การเป็นผู้นวดที่ดีควรรู้สิ่งใด
(1) รู้ว่าท่านวดมีกี่ท่า อะไรบ้าง
(2) รู้เส้นประธานสิบตามลำดับถูกต้อง
(3) รู้ว่านวดอย่างไรจึงจะบรรเทาอาการเจ็บป่วยได้
(4) รู้ว่าต้องนวดนานเท่าไหร่จึงจะบรรเทาอาการเจ็บป่วยได้
(5) ถูกทุกข้อ
149.ผู้นวดควรยึดหลัการในการลงน้ำหนักในการนวดอย่างไร
(1) ลงน้ำหนักจากหนักไปหาเบา
(2) ลงน้ำหนักจากเบาไปหาหนัก
(3) ลงน้ำหนักให้มากที่สุดเพื่อให้เกิดความรู้สึก
(4) ใช้ปลายนิ้วกดลงน้ำหนัก
(5) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 3
150. นายจงจิต จากจอหอ มาหาหมอด้วยอาการก้มหน้า เงยหน้าไม่ได้คอแข็งทื่อหันหน้าซ้าย ขวาต้อง
หัน ทั้งตัว อาการดังกล่าวของนายจงจิต จากจอหอ หมอจะวินิจฉัยว่าเป็นโรคอะไร
(1) โรคลมปลายปัตคาดสัญญาณ 4-5 หลัง
(2) โรคลมปลายปัตคาดสัญญาณ 1-3 หลัง
(3) โรคคอตกหมอน
(4) โรคสะบักจม
(5) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านั้น
1. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
(1) ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ มีจารึกแผนภาพนวด 60 ภาพบนแผ่นศิลาประดับบนผนัง
ศาลา ราย และรูปหล่อฤาษีดัดตน 80 ท่า พร้อมคำโคลง
(2) สมัยพระบรมไตรโลกนาถ พบหลักฐานจากทำเนียบตำแหน่งข้าราชการฝ่ายพระราช
วัง บวรสถานมงคล ว่ามีข้าราชการในกรมหมอนวด
(3) รัชกาลที่ 5 ทรงโปรดการนวดมาก มีมหาดเล็กและพระสนมที่มีความชำนาญใน
การนวดติดตามเสด็จในการเสด็จประพาสในที่ต่างๆ
(4) ในรัชกาลที่ 3 มีการเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังฤาษีดัดตน ที่ศาลาโถงของวัด
มัชฌิมาวาส (วัดกลาง) จังหวัดสงขลา จำนวน 40 ท่า
(5) ในรัชกาลที่ 7 โปรดเกล้าฯให้ตราพ.ร.บ.ควบคุมการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ.2479
ไม่ระบุสาขาการนวดในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ
2. ตำราการนวดฉบับหลวงเกิดขึ้นในสมัยใด
(1) รัชกาลที่ 4
(2) รัชกาลที่ 5
(3) รัชกาลที่ 6
(4) รัชกาลที่ 7
(5) รัชกาลที่ 8
3. ในสมัยรัชกาลใดที่มีการระบุสาขาการนวดในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ พ.ศ.2475 และ
มีการก่อตั้งสมาคมแพทย์แผนโบราณแห่งประเทศไทย
(1) รัชกาลที่ 5
(2) รัชกาลที่ 6
(3) รัชกาลที่ 7
(4) รัชกาลที่ 8
(5) รัชกาลที่ 9
4. ผู้ถูกนวดมีอาการดังต่อไปนี้ห้ามทำการนวด ยกเว้นข้อใด
(1) มีอาการเคลื่อนไหวลำบาก ข้อผิดรูป หลังได้รับบาดเจ็บ ซึ่งอาจเป็นเพราะ
กระดูกหักหรือข้อเคลื่อน
(2) เป็นโรคเบาหวาน
(3) หลังการผ่าตัด
(4) เป็นโรคติดต่อต่างๆเช่น วัณโรค
(5) เป็นโรคผิวหนังบางชนิด เช่น เป็นแผลเรื้อรัง
5. ก่อนลงมือนวด ผู้นวดควรทำสิ่งใดก่อนเป็นอันดับแรก
(1) จัดท่านวดให้ถูกต้อง
(2) หาตำแหน่งจุดนวดที่ถูกต้อง
(3) แนะนำให้ผู้ถูกนวดหายใจช้าๆลึกๆ มีสมาธิ
(4) ระลึกถึงครูบาอาจารย์
(5) ซักถามอาการเพื่อความแน่ใจอีกครั้ง
6. จุดที่ควรระมัดระวังในการนวดคือข้อใด
A. รักแร้ ขาหนีบ
B. เหนือไหปลาร้า หน้าหู
C. บริเวณแก้ม คาง คอ
(1) A. ถูก
(2) B. ถูก
(3) A. และ B. ถูก
(4) A. และ C. ถูก
(5) A. B. และ C. ถูก
7. ข้อใดเป็นไม่ใช่คุณลักษณะของเส้นประธานสิบ
(1) เป็นเส้นขอดอยู่บริเวณท้องรอบสะดือ
(2) เส้นแต่ละเส้นมีแนวเส้นร่วมของแต่ละเส้นกระจายอยู่ทั่วร่างกาย
(3) เส้นประธานสิบแต่ละเส้น มีลมแล่นอยู่ประจำเส้น
(4) อยู่ลึกลงไปในกล้ามเนื้อ บริเวณต่ำจากสะดือ ประมาณ 2 นิ้ว
(5) เส้นแต่ละเส้นมีแนวเส้นร่วมของแต่ละเส้นกระจายอยู่ทั่วร่างกาย
8. เส้นสุมนามีจุดสิ้นสุดที่บริเวณใด
(1) ปลายลิ้น
(2) โคนลิ้น
(3) ขากรรไกร
(4) โหนกแก้ม
(5) ลำคอ
9. เส้นประธานสิบในข้อใดที่มีการแล่นไปทั่วทั้งร่างกายทั้ง 2 ข้าง
(1) ทุวารี
(2) สหัสรังสี
(3) กาลธารี
(4) อิทา
(5) ทุวารี
10. . เส้นสิขิณี หรือ คิชฌะ เป็นแนวเส้นที่แล่นไปสู่อวัยวะใด
(1) องคชาติ
(2) อวัยวะเพศหญิง
(3) ทวารหนัก
(4) กระเพาะปัสสาวะ
(5) ถูกทั้ง (1) และ (2)
11. ข้อใดเป็นลมประจำเส้นทุวารี
(1) ลมทิพจักษุ
(2) ลมสหัสรังสี
(3) ลมจันทร์
(4) ลมสูญทกลา
(5) ลมจันทกลา
12. เส้นประธานสิบในข้อใด ไม่มีลมประจำเส้น
(1) เส้นสุมนา
(2) เส้นรุชำ
(3) เส้นปิงคลา
(4) เส้นกาลธารี
(5) เส้นสหัสรังษี
13. ข้อใดกล่าวถึงหลักการเบื้องต้นที่เกี่ยวข้องกับเส้นประธานสิบได้ถูกต้อง
A. กายายาวประมาณ1วา หนา1คืบครึ่ง กว้าง3ศอก
B. ลมอันประจำอยู่ภายในห้วงลึก2 องคุลี
C. มีเส้นเอ็นเกี่ยวกระหวัดรัดร่างกายอยู่ประมาณ84000เส้น
D. มีเส้นที่สำคัญเป็นประธานอยู่เพียง10เส้น
(1) A ถูก
(2) B ถูก
(3) AและB ถูก
(4) B และD ถูก
(5) A B และC ถูก
14. ข้อใดไม่ใช่ชื่อลมในเส้นประธานทั้งสิบ
(1) ลมจันทรกะลา
(2) ลมชิวหาสดมภ์
(3) ลมอัคนิวาตคุณ
(4) ลมศุญทะกะลา
(5) ลมจันทร์
15. เส้นสิบท่านพรรณนา ในครรภาเป็นนิไสย
ล้อมสูญพระเมรุ์ไว้ สถิตลึกสักสองนิ้ว
ล้อมเป็นจักร์ทราสูนย์ ดูไพบูลย์ไม่แพลงพลิ้ว
ดุจสายบรรทัดทิว เป็นแนวแถวทอดเรียงกัน
จากบทร้อยกรองข้างต้นนั้น ถ้าแพทย์จะนวดรักษาตามทฤษฎีเส้นประธานสิบจะต้องรู้ประการใด
(1) เส้นประธานสิบนั้นมีส่วนเกี่ยวข้องกับบริเวณท้อง
(2) เส้นประธานสิบนั้นมีส่วนเกี่ยวข้องกับบริเวณท้อง โดยเฉพาะรอบสะดือ
(3) เส้นประธานสิบนั้นมีส่วนเกี่ยวข้องกับบริเวณท้อง โดยเฉพาะรอบสะดือ เรียงตัว
กันเป็นระเบียบ
(4) เส้นประธานสิบนั้นมีส่วนเกี่ยวข้องกับบริเวณท้อง โดยเฉพาะรอบสะดือ เรียงตัวกัน
เป็นระเบียบ มีตำแหน่งแน่นอน
(5) เส้นประธานสิบนั้นมีส่วนเกี่ยวข้องกับบริเวณท้อง โดยเฉพาะรอบสะดือ เรียงตัวกัน
เป็นเส้นตรงตั้งแต่เหนือสะดือไปจรดใต้สะดือ
16. ข้อใด้ถูกเกี่ยวกับสัญญาณท้องจุดที่ 5 บริเวณใต้ลิ้นปี่ เหนือสะดือ 2 นิ้ว
A. จ่ายความร้อนออกทั่วท้อง(ออกเส้นสุมนา) เข้าไขสันหลังออกก้นกบ ออกขาทั้งสองข้าง
B. ห้ามกดในรายที่เป็นอัมพาต จะทำให้เสมหะมากขึ้น เรียกว่า ชิวหาสดมภ์
C. ช่วยปรับสมดุลระบบขับถ่ายและระบบทางเดินอาหาร
D. ตั้งต้นกึ่งกลางท้องเหนือสะดือ2นิ้ว แล่นขึ้นไปทรวงอกถึงลำคอ ไปสิ้นสุดที่โคนลิ้น
เรียกว่า “รากเส้นลิ้น”
(1) AและB ถูก (2) BและC ถูก (3) CและD ถูก (4) A B และC ถูก (5) A B และD ถูก
17. อันเส้นการะทารี ทั้งสี่นี้เมื่อวิการ์
กำเริบให้คิลาน์ ย่อมเย็นชาเหน็บทั้งตัว
มักให้เจ็บเย็นสะท้าน เพราะอาหารแสลงชั่ว
ขนมจีนข้าวเหนียวถั่ว พอใจกินจึงเกิดเป็น
จากบทร้อยกรองข้างต้น หากผู้ป่วยมีอาการปลายมือปลายนิ้วชา ตามทฤษฎีเส้นประธานสิบผู้เป็นแพทย์สมควรนวดรักษาตั้งแต่บริเวณใด เพราะเหตุใด
(1) นวดเฉพาะบริเวณข้อมือและนิ้วมือ เพราะอาการของโรคอยู่บริเวณนี้
(2) นวดตามแนวเส้นกาละทารีตั้งแต่หน้าท้อง สะบัก ต้นแขนจนถึงปลายนิ้วมือ
เพราะเป็นแนวเส้นประธานจะทำให้อาการดังกล่าวทุเลาได้มากขึ้น
(3) นวดพื้นฐานบ่า พื้นฐานแขนด้านในและจุดสัญญาณ พื้นฐานแขนด้านนอกและ
จุดสัญญาณ และสัญญาณไหล่ร่วมด้วย เพราะนอกจากจะช่วยให้เลือดไหลเวียนได้
สะดวกขึ้นแล้วยังเป็นส่วนหนึ่งของเส้นกาละทารีด้วย
(4) นวดตามข้อ (2) และข้อ (3)
(5) นวดตามข้อ (1) ข้อ (2) และข้อ (3)
18. หากผู้ป่วยมีอาการปวดเมื่อยบริเวณต้นขา จะมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับเส้นประธานใดได้บ้าง
A. เส้นกาลทารี
B. เส้นจันทภูสัง และ รุชำ
C. เส้นสหัสรังษี และ เส้นทุวารี
D. เส้นอิทา และ เส้นปิงคลา
(1) A และ B ถูก
(2) A และ C ถูก
(3) C และ D ถูก
(4) A B และ D ถูก
(5) A C และ D ถูก
19. สมมติว่าขณะทำการนวดสัญญาณท้องรักษาโรคดานลม ผู้ป่วยบอกแพทย์ผู้ทำการรักษาว่า
รู้สึกมีเสมหะมากขึ้นในลำคอ ท่านสามารถบอกได้หรือไม่ว่าเป็นเพราะเหตุใด
(1) ได้ เป็นเพราะการนวดสัญญาณท้องจะเกี่ยวข้องเส้นสุมนา ส่งผลให้เกิด
ชิวหาสดมภ์คือเสมหะมากนั่นเอง
(2) ได้ เป็นเพราะผู้ป่วยมีอาการไข้หวัดร่วมด้วย
(3) ได้ เป็นเพราะโรคดานลมจะมีเสมหะมากอยู่เป็นปกติ
(4) ไม่ได้
(5) ไม่มีข้อถูก
20. จากมูลเหตุการณ์เกิดโรคทั้งหมด8ประการ ประการใดที่สมควรปรับปรุง หลีกเลี่ยง หรือระวังมากที่สุด
(1) อาหาร เพราะการรับประทานอาหารผิดสำแดงจะมีผลให้โลหิตเป็นพิษจึงเกิดโรค
(2) อิริยาบถ เพราะการฝืนอิริยาบถทำให้ร่างกายเสียสมดุล ธาตุทั้ง4 แปร
ปรวน กล้ามเนื้อ เอ็นและกระดูกซึ่งเป็นธาตุดินเสื่อมเสีย ธาตุอื่นจึงพังไปด้วย
(3) อากาศ เพราะอาการที่ร้อนหรือเย็นมากเกินไปทำให้ระบบการหายใจผิดปกติ
ไปมี ผลต่อการดำรงชีวิต
(4) อดกิน อดนอน เพราะทำให้ร่างกายอ่อนเพลีย
(5) กลั้นอุจจาระ กลั้นปัสสาวะ เพราะทำให้ของเสียไม่ถูกขับออก พิษจึงถูก
ดูดซึมกลับเข้าระบบไหลเวียนโลหิต
21. ตามหลักมูลเหตุการเกิดโรค8ประการและกายานามัย เราต้องรับประทานอาหารอย่างไรจึงจะถูกต้อง
A. กินอาหารให้ถูกกับธาตุเจ้าเรือน
B. กินอาหารแต่พอเหมาะ
C. มีสติในการกิน
D. กินอาหารให้ถูกกับสมุฏฐานต่างๆที่มีผลต่อสุขภาพ
(1) A ถูก
(2) B ถูก
(3) C ถูก
(4) D ถูก
(5) A B C และ D ถูก
22. ข้อใดถูกตามแนวคิดการรักษาแบบองค์รวมด้านกายานามัย จิตตานามัย และชีวิตานามัย
A. การออกกำลังกายด้วยโยคะ
B. กินอาหารให้ถูกกับธาตุ
C. ฝึกสมาธิให้จิตเข้มแข็ง มีพลัง เกิดปัญญา
D. ดำรงชีวิตด้วยทางสายกลาง รักษาศีล5ให้บริสุทธิ์
(1) AและB ถูก
(2) BและD ถูก
(3) CและDถูก
(4) B C และD ถูก
(5) A B C และ D ถูก
23. . ผู้ป่วยชายไทยคู่ อายุ46ปี มาพบแพทย์ด้วยถูกทุบ ถอง โบย ตี ทำให้มีอาการไข้สูง ปวดเมื่อยและช้ำ
ทั่วร่างกาย โดยเฉพาะบริเวณท้อง ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับอาการเจ็บป่วย
A. ต้องดูแลแนะนำไม่ให้ผู้ป่วยเศร้าโศกเสียใจ เพราะอาจทำให้น้ำเลี้ยงหัวใจเหือดแห้ง จะทำให้
เกิดโรคจากความเศร้าโศกเสียใจ
B. ธาตุดินซึ่งเป็นธาตุที่ตั้งแห่งธาตุอื่นทั้งปวงถูกกระทบก่อน ธาตุอื่นจึงพังตามไปด้วย
C. จุดกำเนิดเส้นประธานสิบบริเวณท้องถูกกระทบจึงมีอาการให้เจ็บป่วยไปทั่วร่างกาย
D.เรียกว่า ปัจจุบันกรรม คือธาตุทั้ง4มิได้ล่วงไปตามลำดับ
(1) AและB ถูก
(2) BและD ถูก
(3) CและDถูก
(4) A B และC ถูก
(5) A B C และ D ถูก
24. ผู้ป่วยหญิงไทยคู่ อายุ25ปี อาชีพเลขานุการ มีอาการปวดศีรษะไมเกรน เคยรับรักษาโดยการนวด
บ่า สะบักและโค้งคอแล้วมีอาการบ่าช้ำระบมจึงปฏิเสธการนวดมาตลอด ในฐานะที่ท่านเป็น
แพทย์แผนไทยจะรักษาป่วยรายนี้ด้วยวิธีการใด
A. แนะนำให้ผู้ป่วยเปลี่ยนอิริยาบถขณะนั่งทำงานและแนะนำให้ทำสมาธิเพื่อให้จิตสงบและมีพลัง
B. พิจารณาการใช้ยาสมุนไพรสูตรตำรับต่างๆ
C. ใช้ทฤษฎีเส้นประธานสิบในการนวดรักษา โดยนวดรักษาตามแนวเส้นประธานเดียวกัน
D. แนะนำให้ไปพบแพทย์แผนปัจจุบันเพื่อตรวจร่างกายอย่างละเอียด
(1) A ถูก
(2) B ถูก
(3) C ถูก
(4) A B และC ถูก
(5) A B C และ D ถูก
25. ข้อใดกล่าวผิดในการนวดพื้นฐานขา
A. เริ่มจากผู้นวดวางนิ้วหัวแม่มือชิดกระดูกสันหน้าแข้ง บริเวณจุดนาคบาทเป็นจุดที่ 1 และกดจุดที่ 2 เรียงต่อ จากจุดที่ 1
B. จากนั้นวางนิ้วหัวแม่มือคู่ กดต่อจากจุดที่ 2 โดยกดชิดกระดูกสันหน้าแข้ง กดเรียงนิ้วต่อเนื่องกันจนไปถึง ข้อเท้า
C. หลังจากกดถึงข้อเท้าแล้ว ใช้นิ้วหัวแม่มือคู่ กดบริเวณเหนือเข่า ต่อเนื่องกันไปจนถึงหัวตะคาก พลิกมือกลับ แล้วกดลงบริเวณกล้ามเนื้อสะโพก ต่อเนื่องกันไปจนถึงบริเวณขาท่อนล่างด้านข้างจนถึงตาตุ่มด้านนอก เว้นช่วงบริเวณข้อเข่า แล้วคลายหลังเท้า
D. เปิดประตูลม โดยให้ผู้นวดเอาปลายนิ้วก้อยแตะบริเวณหัวตะคากเฉียงมือ 45 องศา ลงน้ำหนักที่บริเวณอุ้ง มือ กดลงไป โดยใช้เวลาประมาณ 30 – 40 วินาที แล้วยกมือขึ้น
(1) A
(2) B
(3) C
(4) D
(5) C และ D
26. ข้อใดกล่าวผิด
A. การนวดพื้นฐานขานอก เริ่มจากผู้นวดวางนิ้วหัวแม่มือคู่ กดลงบนจุดที่ 1 ซึ่งเป็นจุดสูงสุด
ของบริเวณสะโพก จากนั้นหงายมือ กดลงบนจุดที่ 2 บริเวณข้อพับกระดูกสะโพก แล้วจึง
คว่ำมือ กดลงบนจุดที่ 3 บริเวณรอยบุ๋ม ข้อ ต่อกระดูกสะโพก
B. จากนั้นนวดคลายกล้ามเนื้อต้นขา โดยใช้หัวแม่มือกดคลายตั้งแต่โคนขาจนถึงเหนือข้าง
เข่า จากนั้นวางนิ้วหัวแม่มือ
คู่ กดลงบริเวณกึ่งกลางขาท่อนล่าง ต่อเนื่องกันไปจนถึงบริเวณตาตุ่มด้านนอก
C. การนวดพื้นฐานขาด้านใน เริ่มจากใช้นิ้วหัวแม่มือคู่กดลงบริเวณกึ่งกลางขาด้านในท่อนบน
โดยห่างจากใต้ก้นย้อย ประมาณ 2 นิ้ว แล้วกดเรียงนิ้วต่อเนื่องกันไปถึงบริเวณเหนือข้อเข่า
ด้านใน จากนั้นกดลงบริเวณกล้ามเนื้อน่อง โดย กดชิดกับกระดูกสันหน้าแข้งด้าน
ใน ต่อเนื่องกันไปจนถึงบริเวณตาตุ่มด้านใน
(1) A
(2) B
(3) C
(4) A และ B
(5) B และ C
27. ข้อใดกล่าวถูกเกี่ยวกับการนวดพื้นฐานหลัง
A. เริ่มจากผู้นวดวางนิ้วหัวแม่มือบริเวณกระดูกสันหลังตรงกับแนวหัวตะคาก
B. กดเรียงนิ้วต่อเนื่องกันจนถึงต้นคอ กดด้วยน้ำหนัก 50 ปอนด์
C. จากนั้นกดย้อนกลับทิศทางเดิม จากต้นคอถึงบริเวณเอว แต่เพิ่มน้ำหนักที่กดเป็น 70 ปอนด์
D. การนวดพื้นฐานหลังท่านั่ง จะใช้ท่านวดหนุมานถวายแหวน
(1) A
(2) B
(3) C
(4) D
(5) ถูกทุกข้อ
28. ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับการนวดพื้นฐานแขน
A. การนวดพื้นฐานแขนในท่านอน เริ่มจากผู้นวดใช้อุ้งมือกดลงบริเวณกึ่งกลางแขนท่อนบน โดยมืออีกข้างหนึ่งจับชีพจรที่ข้อมือ
B. การนวดพื้นฐานแขนในท่านั่ง เริ่มจากผู้นวดใช้นิ้วหัวแม่มือกดลงบริเวณข้อพับแขนแขนด้านใน แล้วกดเรียงนิ้วต่อเนื่องไปจนถึงข้อมือ
C. การนวดพื้นฐานแขนนอกท่านอน เริ่มจากผู้นวดนั่งคุกเข่าหันหน้าไปด้านศีรษะผู้ป่วย ใช้นิ้วหัวแม่มือกดบริเวณท่อนบน แล้วกดเรียงนิ้วต่อเนื่องไปจนถึงบริเวณเหนือข้อศอก จากนั้นใช้นิ้วหัวแม่มือวางคู่กัน บริเวณต่ำกว่าข้อศอก กดเรียงนิ้วต่อเนื่องไปจนถึงบริเวณข้อมือ
(1) A
(2) B
(3) C
(4) B และ C
(5) A และ C
29. ข้อใดกล่าวถูกเกี่ยวกับการนวดพื้นฐานหัวไหล่
A. ผู้นวดนั่งท่าพรหมสี่หน้าด้านข้างผู้ป่วย
B. ใช้นิ้วหัวแม่มือคว่ำลง กดลงที่ร่องข้อต่อกระดูกหัวไหล่ประมาณกึ่งกลางสะบัก มืออีกข้างจับข้อมือผู้ป่วยยกขึ้นประมาณระดับสายตา
C. ไม่ควรกดแรง เพราะมีเส้นประสาทที่ไปเลี้ยงแขน ถ้ากดแรงอาจทำให้แขนไม่มีแรง
D. ผู้ที่หัวไหล่หลุด เคลื่อน สามารถนวดได้
(1) A และ B
(2) B และ C
(3) C และ D
(4) A B และ C
(5) B C และ D
30. ข้อใดกล่าวถูก
A. การนวดพื้นฐานบ่า ผู้นวดยืนท่าหกสูง หกกลาง และหกต่ำ
B. การนวดพื้นฐานบ่า ผู้นวดวางนิ้วหัวแม่มือคู่ กดบนแนวกล้ามเนื้อบ่าเริ่มจากชิดร่องกระดูกหัวไหล่ด้านบน กดไล่ไปจนถึงปุ่มกระดูกต้นคอ ใช้น้ำหนัก 50 ปอนด์ แล้วกดไล่กลับด้วยน้ำหนัก 70 และ 90 ปอนด์
C. การนวดพื้นฐานโค้งคอ ผู้นวดนั่งท่าพรหมสี่หน้าข้างหลังผู้ป่วย
D. การนวดพื้นฐานโค้งคอ ผู้นวดใช้นิ้วทั้งสี่ (นิ้วชี้ กลาง นาง ก้อย) แตะหน้าผากผู้ป่วย แล้วใช้นิ้วหัวแม่มืออีกข้างหนึ่งวางชิดร่องกระดูกต้นคอ ไล่ขึ้นไปจนถึงท้ายทอยน้ำหนัก 50 ปอนด์ ทำ 2 – 3 รอบ
(1) A
(2) B
(3) C
(4) D
(5) ถูกทุกข้อ
31. ข้อใด ไม่ ถูกต้อง
(1 ) ลมปลายปัตคาต เป็นลักษณะของการอั้นลม
(2) ลมปลายปัตคาต เป็นลักษณะของกล้ามเนื้อที่เกิดภาวะเครียดแข็งเป็นก้อนเป็นลำ
หลอดเลือดจะหดตัวหรือแข็งตัว
(3) ลมปลายปัตคาต ทำให้มีอาการปวด บวม แข็งเป็นก้อน และไม่มีความร้อน
(4) ตำแหน่งที่เป็นโรคลมปลายปัตคาต เกิดได้กับกระดูก ข้อกระดูก
(5) ลมปลายปัตคาต สามารถรักษาได้ด้วยการนวด
32. ข้อใด ไม่ใช่ โรคลมปลายปัตคาตที่พบบ่อย
(1 ) ลมปลายปัตคาตบ่า (2) ลมปลายปัตคาตข้อมือ (3) ลมปลายปัตคาตส้นเท้า
(4) ลมปลายปัตคาตข้อศอก (5) ลมปลายปัตคาตข้อเข่า
33. ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 38 ปี อาชีพพนักงานบริษัท มาด้วยอาการปวดบ่า ปวดสะบัก และมีอาการ
หายใจ ขัด หายใจไม่เต็มอิ่ม เป็นมา 2 สัปดาห์ ในฐานะท่านเป็นแพทย์แผนไทย ท่านจะวินิจฉัยว่า
ผู้ป่วยรายนี้เป็นโรคใด
(1 ) ลมปลายปัตคาตสัญญาณ 1 หลัง (2) โรคหัวใจ (3) โรคหอบหืด
(4) ลมปลายปัตคาตสัญญาณ 4 หลัง (5) ลมปลายปัตคาตสัญญาณ 5 หลัง
34. ข้อใด ไม่ใช่ สาเหตุของโรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 1 หลัง
(1 ) เกิดจากความเสื่อมของกระดูกสันหลัง (2) เกิดจากพักผ่อนไม่เพียงพอ
(3) เกิดจากอุบัติเหตุ เช่น หกล้ม กระทบกระแทกบริเวณหลัง (4) เกิดจากการทำงานหนัก
(5) เกิดจากท่าทางอิริยาบถที่ไม่ถูกต้อง เช่น การนั่ง การทรงตัว
35. ข้อใด ไม่ใช่ อาการของโรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 1 หลัง
(1 ) ร้าวชาลงสะโพก ก้นย้อย ต้นขา (2) ปวดใต้ข้อพับเข่า แต่ไม่ต่ำกว่าหัวเข่า
(3) ร้าวชาลงขา ปลีน่อง (4) ปวดเมื่อยหลังช่วงล่าง (5) เข่าทรุด เข่าไม่มีกำลัง
36. ข้อใดเป็นวิธีตรวจทางหัตถเวชกรรมของโรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 3 หลัง
(1 ) ตรวจวัดส้นเท้า ข้างที่เป็นจะยาว (2) งอพับเข่าเป็นเลข 4 กดเข่าลงต้านมือ
(3) ดูแนวกระดูกสันหลังว่า มีคด ทรุด เอียงหรือไม่ (4) ก้มหน้าคางชิดอก
(5) ข้อ 1 และ 3 ถูก
37. ข้อใด ไม่ใช่ คำแนะนำของโรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 1 และ สัญญาณ 3 หลัง
(1) ห้ามบิด ดัด สลัดขา (2) หลีกเลี่ยงอาหารและพฤติกรรมที่ทำให้เกิดโรค
(3) ประคบความร้อนที่หลัง สะโพก ขาด้านในและนอก (4) บริหารร่างกาย เช่น ท่ายืนเขย่งปลายเท้าข้างเดียว
(5) นวดรักษาวันเว้นวัน
38. ข้อใดเป็นขั้นตอนแรก ของสูตรนวดรักษาโรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 4 หลัง
(1) ตรวจก่อนทำการนวด (2) นวดพื้นฐานขา (3) นวดพื้นฐานบ่า
(4) นวดสัญญาณ 4 หัวไหล่ (5) นวดพื้นฐานหลัง
39. ข้อใด ไม่ใช่ ท่าบริหารของโรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 5 หลัง
(1) ท่าก้ม-เงยศีรษะ (2) ท่ามือประสานกดศีรษะลง (3) ท่าโหนรถเมล์
(4) ท่าเกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง ยกศีรษะมองปลายเท้า (5) ท่าแกว่งแขน
40. ข้อใด ไม่ใช่ อาการของโรคลมปลายปัตคาตเส้นโค้งคอ
(1) คอแข็ง ทรงศีรษะไม่อยู่ (2) วิงเวียนศีรษะ คล้ายจะเป็นลม (3) กล้ามเนื้อคอไม่มีกำลัง
(4) ก้ม-เงย หรือเอียงคอ มีอาการปวดตึงต้นคอ (5) ตอบข้อ 1 และ 2
41. สูตรการรักษาโรคใด ที่มีการนวดสัญญาณ 1-5 ขาด้านนอก เน้นสัญญาณ 5 และนวดสัญญาณ 1-5 ขา
ด้านใน เน้นสัญญาณ 2-5
(1 ) โรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 1 หลัง (2) โรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 3 หลัง
(3) โรคลมปลายปัตคาตข้อศอก (4) โรคลมปลายปัตคาตส้นเท้า (5) โรคลมปลายปัตคาตข้อศอก
42. ผู้ป่วยหญิงไทยคู่ อายุ 45 ปี อาชีพแม่ค้า มารับการรักษาที่คลินิกแพทย์แผนไทยด้วยอาการปวด
ข้อศอก ร้าวไปที่หัวไหล่ ปวดร้าวชาลงไปที่แขน ข้อมือ นิ้วมือ เวลากำมือ บิดมือ คว่ำมือ
จะเจ็บในฐานะท่านเป็นแพทย์แผนไทย ท่านจะวินิจฉัยว่าผู้ป่วยรายนี้เป็นโรคใด
(1 ) ลมปลายปัตคาตข้อมือ (2) นิ้วไกปืน (3) ลมปลายปัตคาตข้อศอก (4) ลมปลายปัตคาตสัญญาณ 4 หลัง
(5) หัวไหล่ติด
43. ข้อใด คือ ความหมายของ “ โรคลำบอง ”
(1) เป็นโรคเลือดตกตะกอนตามข้อกระดูก ทำให้ข้อต่ออักเสบ ปวด บวม แดง ร้อน
มีน้ำในข้อ ชนิดขุ่นมันเมือก
(2) เป็นลักษณะของการอั้นลม กล้ามเนื้อเกิดภาวะตึงเครียด แข็งเป็นก้อนเป็นลำ หลอดเลือดก็จะหดตัวหรือแข็งตัว
(3) เป็นโรคที่เกิดจากก้อนเลือดประจำเดือนตกค้าง (เลือดเป็นพิษ)
(4) เป็นโรคที่เกิดจากหลอดเลือดแดงในสมองหดตัว และขยายตัวผิดจังหวะ หดตัวนานเกินไป ทำให้ขาดเลือดไปเลี้ยงสมอง และขยายตัวอย่างรวดเร็วไปกดดันสมอง ทำให้ปวดหัวตามการเต้นของหัวใจ
(5) ไม่มีข้อถูก
44. การตรวจร่างกาย “โรคลำบองสัญญาณหลัง 3” ในข้อใดถูกต้อง
(1) วัดสั้นเท้าข้างที่เป็นจะยาว (2) วัดส้นเท้าข้างที่เป็นจะสั้น (3) งอพับเลข 4 กดเข่าต้านมือ
(4) ตรวจหาจุดเจ็บ มีจุดเจ็บที่ชัดเจนบริเวณสัญญาณ 1 และ 3 (5) ไม่มีข้อถูก
45. ข้อใดเป็นอาการของ “โรคยอกหลังเดี่ยว”
(1) ปวด ตึง เจ็บ บวม อักเสบ ตรงกล้ามเนื้อเอวทั้ง 2 ข้าง ไม่มีอาการร้าวชาไปที่ขา
(2) ปวดมากเมื่อเปลี่ยนอริยบถ จะเจ็บแบบสะดุ้ง ถ้ายืดหลังได้แล้ว เดินได้ดี
(3) นอนเหยียดตรงไม่ได้ ให้นอนหนุนหัวสูง หมอนรองใต้เข่าจะรู้สึกดีขึ้น
(4) เดินตัวแอ่นไปข้างหน้า หรือข้างหลัง (5) ถูกทุกข้อ
46. ข้อใดเป็นสูตรการรักษา “โรคยอกหลังคู่”
(1) นวดขาด้านใน สัญญาณ 1 2 3 4 เดินเส้นถึงตาตุ่ม และ 5 เน้นสัญญาณ 1 และ 2
(2) นวดพื้นฐานบ่าข้างที่เป็น 50 70 90 ปอนด์ และนวดไหล่สัญญาณ 1 2 3 4 5 เน้นสัญญาณ 1 และ 5
(3) นวดท้อง ในท่าแหวก ท่านาบ ข้างซ้าย-ขวา ท่าละ 3 รอบ กดสัญญาณ 1 และ 3
(4) นวดพื้นฐานแขนด้านในและด้านนอก
(5) ไม่มีข้อถูก
47. “โรคหัวไหล่ติดเฉียบพลัน” เกิดจากกล้ามเนื้อบริเวณใดอักเสบ
(1) กล้ามเนื้อบริเวณไหล่อักเสบ (2) กล้ามเนื้อบริเวณแขนอักเสบ (3) กล้ามเนื้อบริเวณสะบักอักเสบ
(4) ถูกทุกข้อที่กล่าวมา (5) ถูกเฉพาะข้อ 3
48. เทคนิคการเขยื้อนไหล่เพิ่มองศา ใน“โรคหัวไหล่ติดเรื้อรัง”มีวธีปฎิบัติอย่างไร
(1) กดสัญญาณ 1ไหล่นิ่งๆ แล้วค่อยๆ ยกแขนผู้ป่วยยืดขึ้นเหนือศรีษะ พร้อมบิดแขนเข้าใน ให้ฝ่ามือของผู้ป่วยมีทิศทางหันไปทางด้านหลังของผู้ป่วย และให้แขนชิดศรีษะด้านข้างผู้ป่วยให้มากที่สุด โดยให้ผู้ป่วยใช้ศอกช่วยดันให้แขนผู้ป่วยยืดตึง
(2) กดสัญญาณ 3ไหล่นิ่งๆ แล้วค่อยๆ ยกแขนผู้ป่วยยืดขึ้นเหนือศรีษะ พร้อมบิดแขนเข้าใน ให้ฝ่ามือของผู้ป่วยมีทิศทางหันไปทางด้านหลังของผู้ป่วย และให้แขนชิดศรีษะด้านข้างผู้ป่วยให้มากที่สุด โดยให้ผู้ป่วยใช้ศอกช่วยดันให้แขนผู้ป่วยยืดตึง
(3) กดสัญญาณ 5 ไหล่นิ่งๆ แล้วผู้นวดยืดตัวยกก้นขึ้น พร้อมดันข้อศอกผู้ป่วยให้สูงขึ้น อาจใช้แขนผู้ป่วยพาดหัวไหล่ผู้นวดแทนการงอข้อศอก จะทำให้เขยื้อนหัวไหล่ได้มากขึ้น
(4) มือซ้ายจับยึดผู้ป่วย มือขวาจับนิ้วนางกับนิ้วก้อย ดึงยืดออก และจับหักพับข้อมือลงทันที แล้วเปลี่ยนมาจับแนวนิ้วกลาง นิ้วชี้ และนิ้วทั้ง 4 แทนนิ้วนางกับนิ้วก้อยตามลำดับ
(5) ไม่มีข้อถูก
49. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุการเกิด“โรคสันนิบาตข้อมือตก”
(1) เกิดจากการไหลเวียนเลือดไม่ดี ทำให้เลือดไปเลี้ยงประสาทบริเวณข้อมือไม่ได้ หรือได้เล็กน้อย
(2) เกิดจากการเจริญของปลอกเอ็น และเอ็นไม่สัมพันธ์กัน
(3) เกิดจากการถูกความร้อน เย็นมากเกินไป ทำให้เลือดมาคั่งบริเวณข้อมือ
(4) เกิดจากโรคบางชนิด เช่น โรคเบาหวาน โรคพิษสุราเรื้อรัง
(5) ไม่มีข้อถูก
50. การนวดแขนด้านใน ในสูตรการรักษา“โรคสันนิบาตข้อมือตก”ข้อใดไม่ถูกต้อง
(1) นวดรอบจุดโคนนิ้วที่เป็น กดดันเข้าหาเดือย (2) กด 5 จุดข้อมือ และใจกลางฝ่ามือ
(3) กด 5 จุด ข้อนิ้วมือ ทุกข้อทุกนิ้ว (4) คลายนิ้วมือในท่ารูดแหวก (5) ไม่มีข้อถูก
51. “โรคอัมพาตใบหน้า”สาเหตุทางแผนไทยเชื่อว่าเกิดจากลมต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
(1) ลมปลายปัตคาต ทำให้ยักคิ้วไม่ได้ หลับตาไม่ลง ยิ้มปากเบี้ยว
(2) ลมสันนิบาต มีการกระตุกตามหน้าตาและปากวมด้วย
(3) ลมบาดทะจิต ทำให้การไหลเวียนของเลือดไม่สมดุล
(4) ลมชิวหาสดมภ์ เกิดอาการทางปาก มีปากเบี้ยว น้ำลายยืดเหนียว
(5) ไม่มีข้อถูก
52. ข้อใดกล่าวถูกต้องใน“โรคอัมพาต”
(1) วัดส้นเท้าข้างที่เป็นสั้น เป็นโรคอัมพาตชนิดแข็ง
(2) วัดส้นเท้าข้างที่เป็นสั้น เป็นโรคอัมพาตชนิดอ่อน
(3) วัดส้นเท้าข้างที่เป็นยาว เป็นโรคอัมพาตชนิดเกร็ง
(4) วัดส้นเท้าข้างที่เป็นยาว เป็นโรคอัมพาตชนิดติด
(5) ไม่มีข้อถูก
53. ข้อใดกล่าวถึง“โรคหมอนรองกระดูกทับเส้น”ผิด
(1) โรคที่เกิดจากการแตกของหมอนรองกระดูกสันหลังโดยมีส่วนไส้ของหมอน
รองกระดูกสัน หลังเคลื่อนถอยหลังออกมากดทับเส้นประสาทไขสันหลัง
(2) มีอาการปวด ชา หรืออ่อนแรงจากการทำงานที่ผิดปกติของเส้นประสาทที่โดนกด
(3) หมอนรองกระดูกไม่ได้เป็นกระดูก แต่จะประกอบด้วยส่วนใหญ่ๆ 2 ส่วนคือ วงรอบนอกจะเป็นเอ็นแข็งๆ และใจกลางจะเป็นเหมือนเจลใสๆ
(4) เกิดในคนวัยสูงอายุเท่านั้น
(5) ไม่มีข้อถูก
54. ผลการนวดสัญญาณ 2 ขาด้านนอก มีประโยชน์อย่างไรต่อ“โรคหมอนรองกระดูกทับเส้น”
(1) ใช้ตรวจกรณีสะโพกเคลื่อนว่าเข้าที่แล้วหรือไม่
(2) ใช้ในการดึงพิษการอักเสบของหลังและท้องสู่ปลายขา
(3) จ่ายความร้อนเข้าหัวกระดูกสะโพก ออกต้นขาและปลีน่อง
(4) ทำให้ลมเบื้องสูงและลมเบื้องต่ำพัดอย่างสมดุล
(5) ข้อที่ 2 เท่านั้น
55. การกดจุดสัญญาณใดที่หลังแก้อาการปวดประจำเดือน
(1) สัญญาณ 1 หลัง (2) สัญญาณ 2 หลัง (3) สัญญาณ 3 หลัง (4) สัญญาณ 4 หลัง (5) สัญญาณ 5 หลัง
56. การกดจุดสัญญาณใดที่หลังแก้อาการจุกเสียด แน่นท้องได้
(1) สัญญาณ 1 หลัง (2) สัญญาณ 2 หลัง (3) สัญญาณ 3 หลัง (4) สัญญาณ 4 หลัง (5) สัญญาณ 5 หลัง
57. การกดจุดสัญญาณใดแก้อาการดานเลือด และดานลมได้
(1) สัญญาณ 1 ขาด้านใน (2) สัญญาณ 2 ขาด้านใน (3) สัญญาณ 3 ขาด้านใน (4) สัญญาณ 4 ขาด้านใน
(5) สัญญาณ 5 ขาด้านใน
58. ดานลม มีอาการดังต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
(1) ท้องอืด ท้องเฟ้อ (2) ท้องเกิดเถาดานพันดึก (3) ใจหวิว ใจสั่น หงุดหงิดง่าย (4) ง่วงนอนบ่อย หลับง่าย
(5) หงุดหงิดง่าย
59. ดานลม มีการรักษาโดยใช้เทคนิคในท่าใด
(1) เทคนิคท่าโกย (2) เทคนิคท่าฝืน (3) เทคนิคเขยื้อนหัวไหล่ (4) เทคนิคท่าเขยื้อนหัวไหล่เพิ่มองศา
(5) ถูกทุกข้อ
60. ดานเลือด มีสาเหตุต่างๆดังนี้ ยกเว้นข้อใด
(1) อุบัติเหตุ หกล้มก้นกระแทก (2) ประจำเดือนหยุดกะทันหัน (3) คลอดลูกแล้วได้อยู่ไฟ
(4) ฮอร์โมน เช่นวัยทอง
(5) ถูกทุกข้อ
61. ดานเลือด มีอาการดังต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
(1) ผอมแห้งแรงน้อย
(2) เบื่ออาหาร
(3) กินอาหารแสลงแล้วจะมีอาการ
(4) ประจำเดือนมาเป็นปกติ
(5) ถูกทุกข้อ
62. ดานเลือด มีการรักษาโดยใช้เทคนิคในท่าใด
(1) เทคนิคท่าโกย
(2) เทคนิคท่าฝืน
(3) เทคนิคเขยื้อนหัวไหล่
(4) เทคนิคท่าเขยื้อนหัวไหล่เพิ่มองศา
(5) ถูกทุกข้อ
63. จับโปงน้ำเข่า มีสาเหตุต่างๆดังนี้ ยกเว้นข้อใด
(1) มีการผิดรูปของข้อเข่า ขาผิดรูป
(2) อาหาร อากาศ พฤติกรรม ท่าทาง
(3) โรคอ้วน
(4) ฮอร์โมน เช่นวัยทอง
(5) ผิดทุกข้อ
64. จับโปงน้ำเข่า เมื่อตรวจร่างกายโดยการวัดส้นเท้า ข้างที่เป็นจะพบอะไร
(1) ข้างที่เป็นจะสั้น
(2) ข้างที่เป็นจะยาว
(3) ส้นเท้าเท่ากันทั้งสองข้าง
(4) ข้อ1 และ 3 ถูก
(5) ถูกทุกข้อ
65. ถ้าทาปูนทดสอบที่หัวเข่า จับโปงแห้งจะเป็นอย่างไร
(1) ปูนจะไม่แห้ง
(2) ปูนจะเยิ้ม
(3) ปูนจะแห้ง
(4) ปูนจะละลาย
(5) ไม่มีข้อถูก
66. ข้อใดมิใช่สาเหตุของโรคคอตกหมอน
(1) การนอนผิดท่า
(2) ความล้าของกล้ามเนื้อจากการทำงานนานๆ
(3) การที่กล้ามเนื้อไม่แข็งแรง ถูกใช้งานกะทันหัน
(4) อุบัติเหตุ เช่น การเคลื่อนของหมอนรองกระดูกคอ
(5) การกระทบความร้อนเย็นมากเกินไป
67. ข้อใดมิใช่เป็นอาการของโรคคอตกหมอน
(1) ปวดตึงกล้ามเนื้อบ่าโค้งคอ
(2) ขัดยอกหน้าอก
(3) ปวดเจ็บเสียวในหัวไหล่
(4) ปวดจากคอและร้าวมาที่สะบัก ปีกสะบัก
(5) หันหน้าไม่ได้หรือหันหน้าลำบากต้องหันตัว
68. บุคคลที่เป็นโรคคอตกหมอนบ่อยๆมักเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคใด
(1) โรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 4 หลัง
(2) โรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 5 หลัง
(3) โรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 1 หลัง
(4) โรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 3 หลัง
(5) ข้อ 1 และข้อ 2 ถูก
69. นายคิม มีอาการ ปวดกล้ามเนื้อที่อยู่ระหว่างกระดูกสันหลังและสะบัก ยกแขนไม่สะดวก ก้มหรือ
เงยได้ไม่เต็มที่ขณะยกของก็ปวดเสียวลงมาที่สะบัก ผู้ป่วยที่มีอาการดังกล่าว ควรวินิจฉัยว่า
เป็นโรคอะไร
(1) ลมปลายปัตคาตสัญญาณ 4 หลัง
(2) ลมปลายปัตคาตสัญญาณ 5 หลัง
(3) สะบักจม
(4) หัวไหล่ติด
(5) ถูกทุกข้อ
70. บุคคลที่มักเกิดอาการท้องเสียบ่อยๆ มักเสี่ยงต่อการเกิดโรคใด
(1) โรคนิ้วไกปืน
(2) จับโปงข้อเท้า
(3) ตะคริวน่อง
(4) หัวไหล่ติด
(5) ลมปะกัง
71. ข้อใดคืออาการของโรคตะคริวน่อง
(1) ปวดกล้ามเนื้อ
(2) กล้ามเนื้อแข็งเป็นก้อน
(3) ปลายเท้าชี้ลง
(4) ขยับขาไม่ได้ กระดกขาขึ้นเองไม่ได้
(5) ถูกทุกข้อ
72. กรณีนักกีฬามีอาการของโรคตะคริวน่อง อันดับแรกมีวิธีการรักษาอย่างไร
(1) ให้ นอนหงาย ยกขาขึ้นตรงๆ ดันข้อเท้ากระดกขึ้น
(2) นอนตะแคงข้างดี ตะโพกงอแทนนอนหงายจะลดความตึงลง
(3) ผู้ป่วยนอนหงาย มือหนึ่งจับข้อเท้า อีกมือดันฝ่าเท้าให้กระดกขึ้นแรงแล้วกระดกลงตามธรรมชาติ
(4) นวดพื้นฐานขา
(5) นวดสัญญาณ 12345 ขาด้านนอก
73. ขั้นตอนวิธีการนวดรักษาโรคข้อใดใช้รักษาโรคตะคริวน่องโดยเฉพาะ
(1) นวดพื้นฐานขา เปิดลม
(2) นวดแนวเส้นกึ่งกลางน่อง
(3) นวดพื้นฐานขาด้านนอก
(4) นวดพื้นฐานขาด้านใน
(5) นวดเน้นข้อเท้า
74. นายจันทร์กานเล่นกีฬาฟุตบอล ได้รับบาดเจ็บข้อเท้าขวาแพลง จากกรณีดังกล่าวจะพบ
ข้อเท้าแพลงตรงตำแหน่งใด
(1) แพลงด้านข้าง
(2) แพลงด้านใน
(3) แพลงด้านหน้า
(4) แพลงหลังเท้า
(5) แพลงทั้งสองด้าน
75. โรคข้อเท้าแพลง เกิดจากอุบัติเหตุ ส่วนใหญ่ 80% มักพบข้อเท้าแพลงตรงตำแหน่งใด
(1) แพลงด้านข้าง
(2) แพลงด้านใน
(3) แพลงด้านหน้า
(4) แพลงหลังเท้า
(5) แพลงทั้งสองด้าน
76. น้องแพน ได้รับอุบัติเหตุ มีอาการ ปวดขัดเสียวบริเวณข้อเท้าซ้าย กรณีดังกล่าววินิจฉัยว่าน้องแพน
เป็นโรคใด
(1) สันนิบาตตีนตก
(2) จับโปงข้อเท้า
(3) นิ้วเท้าซ้น
(4) ข้อเท้าแพลง
(5) ตะคริวน่อง
77. น้องแพน ได้รับอุบัติเหตุ ข้อเท้าซ้ายแพลง กรณีดังกล่าวน้องแพนควรทำท่าบริหารอย่างไร
(1) ท่ากระดกข้อเท้าขึ้น ลง
(2) ท่านั่งยองๆ 90 องศา
(3) ท่างุ้มนิ้วเท้าขึ้น ลง
(4) ท่าเกร็งกล้ามเนื้อท้อง
(5) ท่ายืนเขย่งปลายเท้า
78. หญิงไทยคู่อายุ 45 ปี มีอาชีพก่อสร้าง มาด้วยอาการปวดหลังข้างซ้าย บางครั้งจะรู้สึกปวดร้าวลง
ต้นขาข้างซ้ายจึงมารับการรักษาที่คลินิกแผนไทย ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคใดต่อไปนี้
(1) ลำบองสัญญาณ 1 หลัง
(2) ลำบองสัญญาณ 3 หลัง
(3) ลมปลายปัตคาตสัญญาณ 1 หลัง
(4) ลมปลายปัตคาตสัญญาณ 3 หลัง
(5) ถูกทั้งข้อ 3 และ ข้อ 4
79. หญิงไทยคู่อายุ 45 ปี มีอาชีพก่อสร้าง มาด้วยอาการปวดหลังข้างซ้าย บางครั้งจะรู้สึกปวดร้าวลง
ต้นขาข้างซ้ายจึงมารับการรักษาที่คลินิกแผนไทยจากอาการของผู้ป่วยในข้างต้น ข้อใดกล่าวถึง
วิธีการรักษาได้ถูกต้องที่สุด
(1) นวดหลังสัญญาณ 123 เน้นสัญญาณ 3 แล้วนวดขาด้านนอกสัญญาณ 1-5 เน้นสัญญาณ 3
(2) นวดหลังสัญญาณ 123 เน้นสัญญาณ 3 แล้วนวดขาด้านนอกสัญญาณ 1-5 เน้นสัญญาณ 2
(3) นวดหลังสัญญาณ 123 เน้นสัญญาณ 1 แล้วนวดขาด้านนอกสัญญาณ 1-5 เน้นสัญญาณ 1
(4) นวดหลังสัญญาณ 123 เน้นสัญญาณ 1 แล้วนวดขาด้านนอกสัญญาณ 1-5 เน้นสัญญาณ 2
(5) นวดหลังสัญญาณ 123 เน้นสัญญาณ 1 แล้วนวดขาด้านนอกสัญญาณ 1-5 เน้นสัญญาณ 3
80. อาการใดบ่งบอกถึงการเกิดโรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 3 หลัง
(1) อาการปวดบั้นเอว ร้าวลงปลีน่อง
(2) อาการขาอ่อนแรง
(3) อาการปวดบั้นเอว ร้าวลงฝ่าเท้า นิ้วเท้า
(4) ข้อ 1 , 3 ถูก
(5) ถูกทุกข้อ
81. ข้อใดเป็นวิธีการรักษาผู้ป่วยโรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 3 หลัง
(1) นวดหลังสัญญาณ 1-3 เน้นสัญญาณ 3 หลัง แล้วนวดขาด้านนอกสัญญาณ 1-5 เน้นสัญญาณ 2
(2) นวดขาด้านในข้างที่เป็นสัญญาณ 1-5 เน้นสัญญาณ 1
(3) นวดหลังสัญญาณ 1-3 เน้นสัญญาณ 1 แล้วนวดขาด้านนอกสัญญาณ 1-5
เน้น สัญญาณ 3
(4) ข้อ 3 ถูก
(5) ข้อ 1 , 2 ถูก
82. ผู้ป่วยหญิงไทยคู่ อายุ 35 ปี มาด้วยอาการป่วยกล้ามเนื้อบ่าและคอ ร้าวลงสะบัก แขนและปลาย
นิ้วนางซึ่งจากการซักประวัติพบว่าผู้ป่วยเป็นพนักงานบัญชีต้องนั่งทำงานหน้าคอมพิวเตอร์
ตลอดเวลา วิธีการรักษาใดถูกที่สุด
(1) นวดพื้นฐานหลังสัญญาณ 4 และ 5 เน้นสัญญาณ 5 นวดพื้นฐานบ่า นวดสัญญาณ 4 หัวไหล่
(2) นวดพื้นฐานหลังสัญญาณ 4 และ 5 เน้นสัญญาณ 4 นวดพื้นฐานบ่า นวดสัญญาณ 4 หัวไหล่
(3) นวดพื้นฐานบ่า นวดหลังสัญญาณ 4 และ 5 เน้นสัญญาณ 5 นวดสัญญาณ 4 หัวไหล่
(4) นวดพื้นฐานบ่า นวดหลังสัญญาณ 4 และ 5 เน้นสัญญาณ 4 นวดสัญญาณ 4 หัวไหล่
(5) นวดพื้นฐานบ่า นวดหลังสัญญาณ 4 และ 5 เน้นสัญญาณ 4 นวดสัญญาณ 4 หัวไหล่
นวดโค้งคอ
83. ผู้ป่วยหญิงไทยคู่ อายุ 35 ปี มาด้วยอาการปวดกล้ามเนื้อบ่าและคอ ร้าวลงสะบัก แขนและปลาย
นิ้วนางซึ่งจากการซักประวัติพบว่าผู้ป่วยเป็นพนักงานบัญชีต้องนั่งทำงานหน้าคอมพิวเตอร์
ตลอดเวลา ข้อใดเป็นท่าบริหารที่เหมาะสมกับผู้ป่วยโรคนี้
(1) ท่าเกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง ท่ายกศีรษะมองปลายเท้า
(2) นั่งยองๆ 90 องศา
(3) บิดและสลัดแขน คอ บริเวณที่มีอาการปวด
(4) บริหารโดยการเกร็งกล้ามเนื้อหลังบิดตัว 10-20 ครั้ง
(5) บริหารโดยใช้ท่าแกว่งแขน ชูแขนแนบศีรษะแล้วทิ้งแขนให้ผ่านลำตัวไปด้านหลัง
10-20 ครั้ง
84. นายไก่ เอี้ยวตัวยกลังหนังสือที่วางบนโต๊ะอย่างกะทันหัน หลังจากนั้น 1 วันก็เริ่มมีอาการ
ปวดตึง บริเวณสะเอวข้างขวา ตัวแข็ง เวลาเดินมักเอามือค้ำสะเอวข้างขวา และเดินแอ่นตัวไป
ข้างหลังตลอดเวลา จึงไปรับการรักษาที่คลินิคแผนไทย แล้วได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคใดต่อไปนี้
(1) ลำบองสัญญาณ 1 หลัง
(2) ลำบองสัญญาณ 3 หลัง
(3) ลมปราบที่สันหลัง
(4) ยอกหลังเดี่ยว
(5) ยอกหลังคู่
85. ข้อใดต่อไปนี้ผิด เมื่อกล่าวถึงโรคหัวไหล่ติดเฉียบพลัน และหัวไหล่ติดเรื้อรัง
(1) แตกต่างกันที่ระยะเวลาการเป็นโรค คือหัวไหล่ติดเรื้อรังต้องเป็นมานานเกิน 6 เดือน
(2) หัวไหล่ติดเฉียบพลันจะมีอาการปวด บวม แดง ร้อน อักเสบบริเวณหัวไหล่ ส่วนหัว ไหล่ติดเรื้อรังมีแค่อาการปวดเสียวในหัวไหล่ เคลื่อนไหวแขนไม่ได้องศา
(3) ยกแขนชิดหูไม่ได้ ไหล่ติดยกแขนไม่ได้ทั้ง 2 ประเภท
(4) มีการใช้เทคนิคเขยื้อนไหล่และเขยื้อนไหล่เพิ่มองศาในการรักษาโรคหัวไหล่
ติดทั้ง 2 ประเภท
(5) มีการนวดพื้นฐานบ่า และนวดไหล่สัญญาณ 1-5
86. บุคคลอาชีพใดต่อไปนี้เสี่ยงต่อการเป็นโรคลมปลายปัตคาตข้อศอก
(1) แม่ค้าส้มตำ นักแบดมินตัน
(2) นักบัญชี ครู
(3) ตำรวจ ทหาร
(4) ดารา นางแบบ
(5) แม่ค้าผลไม้ นักวิ่ง
87. ปัจจัยเสี่ยงใดต่อไปนี้เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคจับโปงแห้งเข่า
(1) โรคอ้วน
(2) การใช้งานเข่ามากเช่น นักกีฬาวิ่ง พนักงานขายของ
(3) อุบัติเหตุ
(4) เข่าเสื่อมจากวัยทอง
(5) ถูกทุกข้อ
88. หากผู้ป่วยมาด้วยอาการคอตกหมอนเนื่องจากนอนผิดท่า ทำให้มีอาการปวดตึงกล้ามเนื้อบ่าโค้งคอ
และร้าวลงปีกสะบัก ข้อใดเป็นวิธีการรักษาที่ถูกต้อง
(1) นวดพื้นฐานบ่า นวดหลังสัญญาณ 5 บน จุดฐานคอ นวดเส้นโค้งคอ นวดไหล่สัญญาณ 4
(2) นวดพื้นฐานบ่า นวดหลังสัญญาณ 4 บน จุดฐานคอ นวดเส้นโค้งคอ นวดไหล่สัญญาณ 4
(3) นวดพื้นฐานบ่า นวดหลังสัญญาณ 5 บน จุดฐานคอ นวดเส้นโค้งคอ
(4) นวดพื้นฐานบ่า นวดหลังสัญญาณ 4 บน จุดฐานคอ นวดเส้นโค้งคอ
(5) นวดพื้นฐานบ่า นวดหลังสัญญาณ 5 บน 4 บน จุดฐานคอ นวดเส้นโค้งคอ
นวดไหล่สัญญาณ 4
89. ผู้ป่วยมีอาการปวดศีรษะข้างเดียวบางครั้งมีการปวดสลับข้างมีอาการอาเจียนร่วมด้วย
จะใช้วิธีการนวดใดบ้าง
(1) นวดพื้นฐานบ่า นวดสัญญาณ 4 , 5 หลังเน้น 5 ตามด้วยสัญญาณ 4 ไหล่
(2) นวดโค้งคอ นวดสัญญาณศีรษะด้านหลัง และด้านหน้า
(3) มีการเปิดประตูลมที่ขาหนีบทั้ง 2 ข้าง
(4) นวดท้องในท่าแหวก และนาบ
(5) ถูกทุกข้อ
90. ผลของการนวดสัญญาณขาด้านในสัญญาณ 1 เพื่อแก้ปวดขาและขัดสะโพก จะมีการจ่ายความร้อน
เข้าสู่ส่วนใด
(1) กระดูกสะโพก และข้อเท้า
(2) หมอนรองกระดูกหลังและกระดูกเชิงกราน
(3) กระดูกสะโพกและหมอนรองกระดูกหลัง
(4) ข้อเท้าและกระดูกเชิงกราน
(5) กระดูกสะโพกและลูกสะบ้า
91. สัญญาณใดที่ห้ามจับในกรณีที่ผู้ป่วยเป็นอัมพาตเหยียดคู้ขาเองไม่ได้
(1) สัญญาณ 1 ขาด้านนอก
(2) สัญญาณ 2 ขาด้านนอก
(3) สัญญาณ 3 ขาด้านนอก
(4) สัญญาณ 4 ขาด้านนอก
(5) ถูกทุกข้อ
92. สัญญาณใดที่ห้ามจับในกรณีที่ผู้ป่วยเป็นอัมพาตข้อไหล่หลวมยกแขนเองไม่ได้
(1) สัญญาณ 1 หัวไหล่
(2) สัญญาณ 2 หัวไหล่
(3) สัญญาณ 3 หัวไหล่
(4) สัญญาณ 4 หัวไหล่
(5) ถูกทุกข้อ
93. สัญญาณใดต่อไปนี้ที่มีจุดสัญญาณใกล้เคียงกันมากที่สุด
(1) สัญญาณ 1 ขานอกกับสัญญาณ 1 ขาใน
(2) สัญญาณ 3 ขานอกกับสัญญาณ 3 แขนใน
(3) สัญญาณ 2 หัวไหล่กับสัญญาณ 3 หัวไหล่
(4.) สัญญาณ 1 แขนในกับสัญญาณ 4 หัวไหล่
(5) ถูกทุกข้อ
94. จุดสัญญาณแม่ของแต่ละส่วนรวมทั้งหมดมีกี่จุด
(1) มีทั้งสิ้น 50 จุด
(2.) มีทั้งสิ้น 15 จุด
(3) มีทั้งสิ้น 3 จุด
(4) มีทั้งสิ้น 23 จุด
(5) ถูกทุกข้อ
95. การกดบังคับจุดสัญญาณเวลากดควรนานเท่าใด
(1) เท่ากับ 1 คาบน้อย
(2) เท่ากับ 1 คาบใหญ่
(3) เท่ากับ 1 นาที
(4) เท่ากับ 1 วินาที
(5) ถูกทุกข้อ
96. สัญญาณใดที่ใช้ตรวจรู้กรณีอัมพาตขาลีบว่าสามารถนวดแก้คืนได้หรือไม่
(1) สัญญาณ 5 ขาด้านนอก
(2) สัญญาณ 4 ขาด้านนอก
(3) สัญญาณ 3 ขาด้านนอก
(4) สัญญาณ 2 ขาด้านนอก
(5) ถูกทุกข้อ
97. สัญญาณใดต่อไปนี้ที่มี = ความหมายสัญญาณ = ใกล้เคียงกันมากที่สุด
(1) สัญญาณ 1 ขานอกกับสัญญาณ 1 ขาใน
(2) สัญญาณ 1 แขนในกับสัญญาณ 4 หัวไหล่
(3) สัญญาณ 3 ขานอกกับสัญญาณ 3 แขนใน
(4) สัญญาณ 4 หัวไหล่กับสัญญาณ 4 หลัง
(5) ถูกทุกข้อ
98. ข้อต่อไปนี้ผิด....ความหมายของ สัญญาณ 1 หลัง ยกเว้น
(1) จ่ายความร้อนออก สะบัก รักแร้ด้านหลัง
(2) จ่ายเลือดและความร้อนเข้าเชิงกรานแก้ปวดประจำเดือน
(3) จ่ายเลือดและความร้อนเข้าไต ลงปลีน่อง
(4) จ่ายเลือดและความร้อนลงทั่วขาด้านนอก
(5) ถูกทุกข้อ
99. สัญญาณที่จ่ายเลือดและความร้อนเข้าเชิงกรานช่วยบังคับกระดูกสะโพกที่เคลื่อนให้เข้าที่คือ
(1) สัญญาณ 1 ขาด้านนอก
(2) สัญญาณ 2 ขาด้านนอก
(3) สัญญาณ 3 ขาด้านนอก
(4) สัญญาณ 4 ขาด้านนอก
(5) ถูกทุกข้อ
100. ทั้งหมดคือเส้นประธานสิบที่เกี่ยวข้องกับอาการปวดขา ปวดเข่า ยกเว้นข้อใด
(1) อิทา
(2) ปิงคลา
(3) กาลทารี
(4) จันทภูสัง
(5) ถูกทั้งข้อ 2 และ 3
101. ในการนวดสัญญาณหลัง สัญญาณใดที่ช่วยในการระบบหายใจ แก้หอบเหนื่อยได้
(1) สัญญาณหลัง 1
(2) สัญญาณหลัง 2
(3) สัญญาณหลัง 3
(4) สัญญาณหลัง 4
(5) สัญญาณหลัง 5
102. ในการตรวจโรคของลมปลายปัตคาตสัญญาณ 4 หลัง ถ้าพบว่าเมื่อเงยหน้ามองเพดานแล้ว
โหนกแก้มข้างที่เป็นต่ำกว่าข้างที่ไม่เป็น แสดงว่าเกิดเพราะเหตุใด
(1) หินปูนเกาะ
(2) กระดูกหลังทรุดตัว
(3) หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
(4) หมอนรองกระดูกทรุดตัว
(5) หินปูนเกาะที่หมอนรองกระดูก
103. ข้อใดเป็นเทคนิคเขยื้อนหัวไหล่เพื่อเพิ่มองศา
(1) กดสัญญาณ 4 หัวไหล่ แล้วดันศอกให้สูงขึ้น
(2) กดสัญญาณ 5 หัวไหล่ แล้วดันศอกให้สูงขึ้น
(3) กดสัญญาณ 4 หัวไหล่ แล้วบิดแขนผู้ป่วยออกด้านนอก ให้แขนห่างจากศรีษะมากที่สุด
(4) กดสัญญาณ 5 หัวไหล่ แล้วบิดแขนผู้ป่วยออกด้านนอก ให้แขนห่างจากศรีษะมากที่สุด
(5) ถูกทุกข้อ
104. . แอนนา เล่นบาสเก็ตบอลกับเพื่อน ปรากฏว่า เกิดนิ้วมือซ้น ไปหาหมอนวดแผนไทย ถามว่า
การนวดสัญญาณแขนด้านในสัญญาณใดที่ช่วยในการบรรเทาอาการนิ้วมือซ้น นิ้วมือติดได้ดี
(1) สัญญาณแขนใน 1
(2) สัญญาณแขนใน 2
(3) สัญญาณแขนใน 3
(4) สัญญาณแขนใน 4
(5) สัญญาณแขนใน 5
105. การนวดศรีษะ สัญญาณ 5 ศรีษะหลัง ผลของการนวดจะช่วยในการแก้อาการใด
(1) ปวดศรีษะ
(2) ไมเกรน
(3) อัมพาตใบหน้า
(4) ถูกทั้งข้อ 1 และ 2
(5) ผิดทุกข้อ
106. ปาหนัน มีอาการคอตกหมอนบ่อย ซ้ำๆกันทุกคืน อาจมีโอกาสเป็นโรคใด
(1) ลมปะกัง
(2) ลมปลายปัตคาตสัญญาณ 4 หลัง
(3) ลมปลายปัตคาตสัญญาณ 3 หลัง
(4) ลมชิวหาสดมภ์
(5) อัมพาตใบหน้า
107. ทุกข้อ คือการรักษาการนวดข้อเท้าแพลง ยกเว้นข้อใด
(1) นวดเข่าด้านใน ช่วยส่งเลือดไปเลี้ยงข้อเท้า
(2) นวดพื้นฐานขา ไม่คลายหลังเท้า
(3) เน้นข้อเท้า เพื่อเพิ่มกำลัง
(4) ทดสอบแรงถีบปลายเท้า
(5) จับชีพจรหลังเท้า
108. ข้อเท้าแพลงด้านนอก เกิดจากสาเหตุใด
(1) ข้อเท้าพลิกบิดออกนอก
(2) กล้ามเนื้อฉีกขาด
(3) กระดูกข้อเท้าเคลื่อน
(4) ข้อเท้าพลิกบิดเข้าใน
(5) ถูกทั้งข้อ 3 และ 4
109. ในการนวดเพื่อแก้อาการเป็นลม ข้อใดคือจุดที่นวด
(1) จุดร่องใต้จมูก
(2) แนวบ่า
(3) ง่ามระหว่างนิ้วชี้และนิ้วหัวแม่มือ
(4) จุดลิ้นปี่
(5) ถูกทุกข้อ
110. ข้อใดคืออาการของคนเป็นลม..ยกเว้น
(1) มึนงง วิงเวียน
(2) ตาพร่า หูอื้อ
(3) ความดันสูง
(4) เหงื่อออกเยอะ
(5) ชีพจรเต้นเบา
111. การนวดมีกี่ลักษณะ
(1) 2 ลักษณะ
(2) 4 ลักษณะ
(3) 6 ลักษณะ
(4) 8 ลักษณะ
(5) 10 ลักษณะ
112. การออกแรง เพื่อที่จะยึดเส้นเอ็นของกล้ามเนื้อหรือพังพืดของข้อต่อที่หดสั้นให้ยืดออก
หมายถึงการนวดลักษณะใด
(1) การกด
(2) การดึง
(3) การดัด
(4) การบิด
(5) การบีบ
113. ข้อใดคือข้อเสียของการเหยียบ
(1) อาจทำให้กระดูกสันหลังอาจจะหัก
(2) อาจทำให้กล้ามเนื้อฉีกขาด
(3) อาจทำให้เส้นเอ็นฉีกขาด
(4) อาจทำให้พังพืดฉีกขาด
(5) อาจทำให้เส้นเลือดแตก
114. คนที่เป็นเบาหวานสามารถนวดได้หรือไม่ เพราะอะไร
(1) ได้ เพราะเป็นการเพิ่มการทำงานของตับ
(2) ได้ เพราะเป็นการเพิ่มการไหลเวียนของเลือด
(3) ไม่ได้ เพราะอาจทำให้เกิดการช้ำ
(4) ไม่ได้ เพราะอาจทำให้ก้อนเลือดดำไปอุดตันเส้นเลือด
(5) ขึ้นอยู่กับลักษณะอาการของผู้ป่วย
115. การเคลื่อนไหวของข้อต่อมีกี่แบบ
(1) 3 แบบ
(2) 4 แบบ
(3) 5 แบบ
(4) 6 แบบ
(5) 7 แบบ
116. สิ่งสำคัญของผู้นวดที่ต้องคำนึงถึงเป็นอันดับแรกก่อนที่จะนวดคืออะไร
(1) ผู้นวดต้องทำต้องจิตใจให้สงบ
(2) ผู้นวดต้องดูความสะอาดของสถานที่นวด
(3) ผู้นวดต้องคำนึงถึงวัยของผู้ป่วย
(4) ผู้นวดต้องรู้สภาพของตนเอง
(5) ผู้นวดต้องสอบถามและวิเคราะห์อาการให้แน่ชัด
117. ปม”Crystalline”หรือ”Gritt” คืออะไร
(1) ปมใต้ผิวหนังที่เกิดจากพังพืด
(2) ปมใต้ผิวหนังที่สามารถบ่งบอกถึงตำแหน่งที่มีปัญหาของผู้ป่วย
(3) ปมใต้ผิวหนังที่เป็นอันตรายต่อการนวด
(4) ปมใต้ผิวหนังที่เกิดจากปลายเส้นประสาทแต่ละเส้นมารวมกัน
(5) ปมใต้ผิวหนังที่ทำให้ผู้ป่วยไม่รู้สึกเจ็บเมื่อผู้นวดนวดปมนั้น
118. ข้อใดคือประโยชน์ของการนวดฝ่าเท้า
(1) กระตุ้นการทำงานของพังพืด
(2) กระตุ้นการทำงานของผิวหนัง
(3) กระตุ้นการทำงานของเส้นเอ็น
(4) กระตุ้นการทำงานของกระดูก
(5) กระตุ้นการทำงานของระบบต่างๆ
119. การนวดสามารถรักษาโรคใดได้บ้าง
(1) โรคติดเชื้อ
(2) โรคผิวหนัง
(3) โรคเครียด
(4) ความผิดปกติของโครงสร้าง
(5) อุบัติเหตุ
120. ถ้ามีอาการกดเจ็บบริเวณฝ่าเท้า หมายถึงอะไร
(1) อวัยวะตรงตำแหน่งนั้นมีปัญหา
(2) บริเวณนั้นไม่สามารถนวดได้
(3) ต้องรักษาตรงตำแหน่งนั้นให้หายก่อนจึงนวดได้
(4) ต้องนวดเน้นตรงจุดนั้นให้มากๆ
(5) ให้แช่ฝ่าเท้าในน้ำอุ่นๆก่อนแล้วค่อยนวดวันหลัง
121. การนวดน้ำมันเน้นการรักษาในเรื่องใด
(1) ด้านกระดูก
(2) ด้านการผ่อนคลาย
(3) ด้านผิวหนัง
(4) ด้านปวดเมื่อย
(5) ด้านระบบย่อยอาหาร
122. ยาหม่องที่ใช้ในการนวดควรทำมาจากสมุนไพรใดจึงช่วยลดอาการปวดเมื่อยได้ดี
(1) ยาหม่องเสลดพังพอน
(2) ยาหม่องทองพันชั่ง
(3) ยาหม่องพญายอ
(4) ยาหม่องหนุมานประสานกาย
(5) ยาหม่องไพล
123. ตัวยาสมุนไพรใดที่ไม่ได้ใช้ทำลูกประคบ
(1) ไพล
(2) ใบมะขาม
(3) ใบส้มป่อย
(4) เปราะหอม
(5) พิมเสน
124. ตัวยาใดในลูกประคบที่ช่วยดูดความร้อน และช่วยพาตัวยาซึมผ่านผิวหนัง
(1) พิมเสน
(2) การบูร
(3) เกลือ
(4) ไพล
(5) ขมิ้นชัน
125. ข้อใดกล่าวผิด A. รูปแบบยาทาถูนวด ควรตั้งตำรับให้อยู่ในรูปครีม ยาขี้ผึ้ง เนื่องจากรูปแบบ
ยาเตรียมเหล่านี้ติดผิวหนังได้ดี และติดอยู่นาน
B. ตัวยาที่ช่วยเสริมให้ยาทาถูนวดมีความร้อนในการทา คือ น้ำมันระกำ
น้ำมันเขียว น้ำมันสน เป็นต้น
C. ในการทำยาหม่องไพล สารที่ช่วยเพิ่มการดูดซึมผิว คือ พาราฟินแข็ง
(1) A
(2) B
(3) C
(4) A และ C
(5) ไม่มีข้อถูก
126. ข้อใดกล่าวถูกเกี่ยวกับการนวดฝ่าเท้า
A. การนวดฝ่าเท้าเป็นการกระตุ้นการทำงานของระบบต่างๆ ของร่างกาย
B. การนวดฝ่าเท้าไม่สามารถแก้ปัญหาพวกติดเชื้อ พวกผิดปกติของโครงสร้าง การอุดตันของลำไส้
C. การทำงานของการนวดเท้า อยู่บนพื้นฐานหลักการว่า อวัยวะทั้งหมดของร่างกายแสดงออกสัมพันธ์กับบริเวณเท้าทั้งหมด
(1) A
(2) B
(3) C
(4) A และ B
(5) A B C
127. การนวดเท้าในแผนไทย ตามทฤษฎีเรื่องเส้นสิบ มีเส้นที่แล่นไปที่เท้าหลายเส้น ยกเว้นข้อใด
(1) อิทา ปิงคลา
(2) ทุวารี
(3) กาลธารี
(4) สหัสรังสี
(5) จันทภูสัง
128. น้ำมันหอมระเหยต่อไปนี้ ช่วยบรรเทาอาการปวดศีรษะ ไมเกรน ยกเว้นข้อใด
(1) โรสแมรี่
(2) มิ้น
(3) ตะไคร้หอม
(4) มะกรูด
(5) มะลิ
129. ข้อต่อไปนี้ถูกที่สุด
(1) การวินิจฉัยได้จากการซักประวัติ 30 %
(2) การวินิจฉัยได้จากการซักประวัติ 40 %
(3) การวินิจฉัยได้จากการซักประวัติ 50 %
(4) การวินิจฉัยได้จากการซักประวัติ 80 %
(5) ข้อที่ 1 ถูก
130. วัตถุประสงค์ของการทาปูนคือ
(1) ช่วยในการรักษาโรค
(2) ช่วยในการวินิจฉัยโรค
(3) ช่วยในการต่อกระดูก
(4) ถูกทุกข้อ
(5) ไม่มีข้อถูก
131. ถ้าพบว่าจุดที่ทาปูนนั้นเป็นเงาเยิ้มแสดงว่าเป็นโรคอะไร
(1) จับโปงน้ำ หรือลำบอง
(2) วัณโรคกระดูก
(3) ลมปราบ
(4) ลมปลายปัตคาด
(5) ถูกทุกข้อ
132. ถ้าพบว่าจุดที่ทาปูนนั้นแห้งเร็วกว่าปกติแสดงว่าเป็นโรคอะไร
(1) จับโปงน้ำ หรือลำบอง
(2) วัณโรคกระดูก
(3) ลมปราบ
(4) ลมปลายปัตคาด
(5) ถูกทุกข้อ
133.ถ้าพบว่าจุดที่ทาปูนนั้นแห้งเป็นทางยามตามมัดกล้ามเนื้อแสดงว่าเป็นโรคอะไร
(1) จับโปงน้ำ หรือลำบอง
(2) วัณโรคกระดูก
(3) ลมปราบ
(4) ลมปลายปัตคาด
(5) ถูกทุกข้อ
134. ข้อใดคือความหมายของการนวดที่สมบูรณ์ที่สุด
(1) การดูแลสุขภาพเบื้องต้นของมนุษย์
(2) การกดบีบ , การดึงดัด , การทุบตี
(3) การสัมผัสต่อร่างกายโดยใช้ส่วนของร่างกายหรือการใช้อุปกรณ์สัมผัสต่อร่างกาย
(4) การใช้ส่วนต่างๆของร่างกายกดให้รู้สึกเจ็บก่อน แล้วจะเกิดความสบาย
(5) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2
135.ก่อนการนวดควรทำสิ่งใด
(1) สอบถามผู้ถูกนวดเช่น ,ชื่อ, ที่อยู่ที่ , อายุ
(2) ไหว้ผู้ถูกนวดก่อนเพื่อเป็นการขอขมา
(3) สอบถามประวัติและอาการเจ็บป่วยปัจจุบัน , เจ็บป่วยในอดีต
(4) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2 , 3
(5) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2
136.ขณะทำการนวดผู้นวดควรทำอย่างไรข้อต่อไปนี้ผิด ยกเว้น...
(1) พูดให้ผู้ถูกนวดทราบถึงความสามารถของตน
(2) ชวนพูดคุยเรื่องต่างๆเพื่อไม่ให้ผู้ถูกนวดหลับ
(3) สังเกตปฏิกิริยาสีหน้า และผลการนวด
(4) นวดให้ครบทุกท่า และรักษาเวลาไม่ให้ขาดหรือเกิน
(5) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2
137. การเป็นผู้นวดที่ดีควรรู้สิ่งใด
(1) รู้หลักการนวดที่ดีรู้ วิธีการนวดที่เหมาะสม
(2) รู้เกี่ยวกับระบบต่างๆของร่างกาย
(3) รู้ประวัติการเจ็บป่วยของผู้ถูกนวด
(4) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2 , 3
(5) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2
138. สังเกตผลของการนวดที่ให้ความรู้สึกที่ดีได้อย่างไร
(1) สีหน้าและอาการต้านเกร็งของกล้ามเนื้อ
(2) สอบถามผู้ถูกนวดโดยตรง
(3) สีหน้าบิดเบี้ยวแสดงว่ารู้สึกถึงแรงกด
(4) ข้อ 1. และ 2. ถูก
(5) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2 , 3
13 9. ข้อใดคือผลดีของการนวด ยกเว้น..
(1) ทำให้กล้ามเนื้อคลายตัวอ่อนแรงลง
(2) เส้นเอ็นพังผืดยืดตัวได้ดี
(3) สามารถรักษาโรคบางโรคให้หายได้
(4) ลดอาการหดเกร็งตัวของกล้ามเนื้อ
(5) ถูกทุกข้อ
141. ข้อใดไม่จัดว่าเป็นเทคนิคการนวดที่ถูกต้อง
(1) รักษาเวลาในการนวดให้พอดีไม่ขาดหรือเกิน และนวดให้ครบทุกท่า
(2) ใช้น้ำหนักตัวช่วยในการนวด
(3) ลงน้ำหนักกดนวดอย่างช้าๆ
(4) มีสมาธิพิจารณาขั้นตอน และผลของการนวด
(5) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2
142. อาการใดต่อไปนี้ ต้องนวดด้วยความระมัดระวัง
(1) กล้ามเนื้อฟกช้ำ,กล้ามเนื้ออักเสบ
(2) ข้อต่อบวม แดงร้อน
(3) เป็นโรคผิวหนังชนิดติดต่อกันได้
(4) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2, 3
(5) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2
143. การนวดบริเวณใดควรระมัดระวังเป็นพิเศษ
(1) ส่วนที่เป็นกระดูก-ข้อต่อที่เคลื่อนหลุดได้ง่าย
(2) ส่วนบริเวณเนื้ออ่อน
(3) ส่วนบริเวณช่องท้อง
(4) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2
(5) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2, 3
144. ข้อใดถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับการนวดรักษาโรค
(1) ก่อนนวดต้องยกมือไหว้ผู้ถูกนวดก่อนทุกครั้ง
(2) ไม่แสดงให้ผู้ถูกนวดทราบว่าผู้นวดไม่สามารถรักษาอาการเจ็บป่วยได้
(3) หลักการนวดคือ มืออยู่ที่ใด ใจอยู่นั่น
(4) นวดให้เจ็บแล้วโรคจะหาย
(5) ถูกทุกข้อ
145. ข้อใดคือความหมายของการนวด
(1) การบรรเทาความไม่สบายเบื้องต้นของมนุษย์
(2) การสัมผัสต่อร่ายกายบริเวณที่มีความเจ็บป่วยเพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วย
(3) การใช้เครื่องมือสัมผัสส่วนต่างๆของร่างกายการกด-บีบ,การดึง-ดัด,การทุบ-ตี
(4) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2, 3
(5) ถูกเฉพาะข้อ 3
146. ขณะทำการนวดผู้นวดควรทำสิ่งใดต่อไปนี้ ยกเว้น...
(1) สอบถามและสังเกตปฏิกิริยาของผู้ถูกนวด
(2) สำรวมกาย วาจา ใจ
(3) ชวนพูดคุยเรื่องต่างๆเพื่อไม่ให้เกิดความรู้สึกเบื่อหน่าย
(4) ตั้งใจทำสมาธิและมีสติในการนวด
(5) ถูกทุกข้อ
147. ข้อใดถูกที่สุดการลงน้ำหนักในการนวดคือดังนี้
(1) นิ่ง,หน่วง, เน้น
(2) หน่วง,นิ่ง เน้น
(3) เน้น,หน่วง, นิ่ง
(4) หน่วง, เน้น,นิ่ง
(5) ถูกเฉพาะข้อ 3
148. การเป็นผู้นวดที่ดีควรรู้สิ่งใด
(1) รู้ว่าท่านวดมีกี่ท่า อะไรบ้าง
(2) รู้เส้นประธานสิบตามลำดับถูกต้อง
(3) รู้ว่านวดอย่างไรจึงจะบรรเทาอาการเจ็บป่วยได้
(4) รู้ว่าต้องนวดนานเท่าไหร่จึงจะบรรเทาอาการเจ็บป่วยได้
(5) ถูกทุกข้อ
149.ผู้นวดควรยึดหลัการในการลงน้ำหนักในการนวดอย่างไร
(1) ลงน้ำหนักจากหนักไปหาเบา
(2) ลงน้ำหนักจากเบาไปหาหนัก
(3) ลงน้ำหนักให้มากที่สุดเพื่อให้เกิดความรู้สึก
(4) ใช้ปลายนิ้วกดลงน้ำหนัก
(5) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 3
150. นายจงจิต จากจอหอ มาหาหมอด้วยอาการก้มหน้า เงยหน้าไม่ได้คอแข็งทื่อหันหน้าซ้าย ขวาต้อง
หัน ทั้งตัว อาการดังกล่าวของนายจงจิต จากจอหอ หมอจะวินิจฉัยว่าเป็นโรคอะไร
(1) โรคลมปลายปัตคาดสัญญาณ 4-5 หลัง
(2) โรคลมปลายปัตคาดสัญญาณ 1-3 หลัง
(3) โรคคอตกหมอน
(4) โรคสะบักจม
(5) ถูกเฉพาะข้อ 1 , 2